1.   สามารถลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่ โดยแยกรับเป็นรายหอผู้ป่วยได้

2.   สามารถบันทึก / การแก้ไขประวัติส่วนตัวและการรักษา

3.   สามารถลงผลการวินิจฉัยตามมาตรฐานรหัส ICD10

4.   สามารถคำนวณค่า relative weight ตามระบบ DRGs ได้ในขั้นตอนการลงผลวินิจฉัยได้

5.   สามารถส่งข้อมูล DRGs ตามโครงสร้าง 12 แฟ้มมาตรฐานได้

6.   สามารถบันทึกข้อมูลการทำหัตถการของผู้ป่วยในได้

7.   สามารถบันทึกการให้การรักษา การให้ยา ในผู้ป่วยแต่ละราย

8.   สามารถส่งใบสั่งยา ใบตรวจ Lab, X-ray, MRI, CT, U/S, ใบส่งตรวจพิเศษต่าง ๆ ใบ  set ผ่าตัดผ่านระบบได้ 
9.   สามารถบันทึกสั่ง lab/x-ray จากตึกผู้ป่วยในได้

10.  สามารส่งผู้ป่วยไปยังห้องทันตกรรม / ห้องผ่าตัด จากตึกผู้ป่วยในได้

11.  สามารถลงบันทึกจำหน่ายคนไข้ สรุปค่าใช้จ่ายทั้งหมดของคนไข้ได้ และยกเลิกการจำหน่าย �� � 

14.  สามารถบันทึกและตรวจสอบรายชื่อผู้ป่วยและสถานที่ที่ผู้ป่วยเข้าพัก และบันทึก หลักฐานการรับผู้ป่วยเข้าพัก

15.  สามารถใช้เพื่อการย้าย แลกเปลี่ยน และส่งผู้ป่วยไปยังจุดต่างๆ

ระบบสามารถรองรับการบันทึกรับ / ส่งแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยใน และบัตรตรวจโรค (OPD-Card) ตามกลุ่มงานหรือหอผู้ป่วยหรือแพทย์เจ้าของไข้  โดยการบันทึก HN. หรือ AN. หรือ โดยใช้ เครื่องอ่านบาร์โค้ด และระบบสามารถระบุสถานะและตำแหน่งการรับ – ส่งแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยในได้

สามารถลงทะเบียนรับผู้ป่วยเข้าสู่หอผู้ป่วย ระบุเลขที่เตียง  แพทย์เจ้าของไข้ สาขาทางการแพทย์

สามารถบันทึกประเภทการ Admit ของคนไข้ ได้แก่ ปกติ อุบัติเหตุ เด็กแรกเกิด คลอดบุตร เป็นต้น 

– สามารถบันทึกข้อมูลลงทะเบียนผู้ป่วยใน โดยสามารถออกเลขประจำตัวผู้ป่วยในโดย อัตโนมัติ (ออก AN) และบันทึกวันที่และเวลาการรับเข้ามาตามความเป็นจริง  พร้อมทั้งพิมพ์ฟอร์มผู้ป่วยใน  และส่งผู้ป่วยไปยังหอผู้ป่วย

– สามารถสร้างเลขที่ผู้ป่วยในโดยอัตโนมัติ (หมายเลข AN: Admission Number) และ เป็นตัวเลขที่ต่อเนื่องกันไปตลอดปี พ.ศ. และเมื่อขึ้น พ.ศ.ใหม่ให้เริ่มต้นเลขใหม่

– สามารถตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลของผู้ป่วยที่จะ Admit จากระบบผู้ป่วยนอกมาใน ระบบผู้ป่วยใน (รับข้อมูลของผู้ป่วยที่จะ Admit จากระบบผู้ป่วยนอก มาเป็นข้อมูลเบื้องต้นและหอผู้ป่วย 

– สามารถแก้ไข ข้อมูลและบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมได้) เช่น การวินิจฉัยเบื้องต้น ตามรหัส ICD ขององค์การอนามัย โลก(WHO) และของประเทศไทย รวมทั้งสามารถบันทึกการแก้ไขข้อมูลเพิ่มเติมได้ เช่น โรค, ชื่อแพทย์เจ้าของไข้, กลุ่มงาน / หน่วยงาน เป็นต้น

– สามารถรองรับการบันทึกข้อมูลสิทธิการรักษาของบัตรแต่ละประเภท เลขที่บัตร วันที่ เริ่มต้น และวันที่สิ้นสุดในการใช้สิทธิ

– สามารถรองรับสิทธิของผู้ป่วยไม่จ ากัด พร้อมทั้งสามารถแสดงให้เจ้าหน้าที่เห็นสิทธิที่ ผู้ป่วยเคยใช้  และสิทธิปัจจุบันที่ผู้ป่วยใช้

สามารถรองรับการลงทะเบียนผู้ป่วยนอนรักษาย้อนหลังในกรณีเกิดเหตุขัดข้อง เช่น  ไฟฟ้าดับ ระบบขัดข้อง

สามารถบันทึกยกเลิกการลงทะเบียนผู้ป่วยใน (ล้ม AN) ได้ตามข้อกำหนดของการล้ม  หรือตามดุลยพินิจของผู้ปฏิบัติงาน โดยกำหนดสิทธิ์ของการยกเลิกให้เฉพาะคน และสามารถตรวจสอบวัน  เวลา สถานที่ เหตุผลที่ยกเลิกและชื่อผู้บันทึก ซึ่งสามารถยกเลิกได้เฉพาะหอผู้ป่วยที่ผู้ป่วยนอนพักรักษาอยู่

สามารถรองรับการพิมพ์ Sticker ในรูปแบบที่กำหนดได้ เช่น รายละเอียดที่ ประกอบด้วย HN, Barcode HN, คำนำหน้านาม, ชื่อ, นามสกุล, อายุ, วันที่แบบไม่ระบุวัน (เว้นที่ให้เขียนเช่น “…../……/……”) ได้ตามจำนวนที่ต้องการ

มีระบบแจ้งเตือน เมื่อมีผู้ป่วยใหม่ หรือรับย้ายมายังหอผู้ป่วย

หน่วยงาน Admission Center สามารถระบุแพทย์เจ้าของไข้ได้

ระบบจะแสดงเฉพาะเตียงที่ว่างอยู่ในการรับ Admit ผู้ป่วย

สามารถระบุได้ว่าผู้ป่วยมา Revisit ด้วยอาการเดิมได้

ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการปฏิเสธการรับเป็นผู้ป่วยใน หลังจากรับเข้าเป็นผู้ป่วยในแล้ว   สามารถทำการจำหน่ายหรือยกเลิกข้อมูล การ Admit  พร้อมเก็บเหตุผลในการยกเลิก และรหัสผู้ยกเลิกข้อมูลได้  และเก็บสถิติการจาหน่ายจากการปฏิเสธการรักษาได้

สามารถสอบถามรายชื่อผู้ป่วยที่นอนพักรักษานานๆได้ (แพทย์เห็นควรให้กลับบ้านแต่ ผู้ป่วยไม่กลับ)

สามารถสอบถามสถานภาพของผู้ป่วยได้ว่ากำลังนอนรักษาตัวอยู่หรือถูกจำหน่ายแล้ว

สามารถสอบถามข้อมูลรายละเอียดของผู้ป่วย ประวัติส่วนตัวของผู้ป่วย ประวัติการแพ้ ยา ประวัติการรักษา ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ  สถานการณ์ตรวจรักษา จากแฟ้มประวัติตัวผู้ป่วย จาก ระบบเวชสถิติ Code ICD 10