ผู้เขียน หัวข้อ: รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ  (อ่าน 3063 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ watson3387

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 5
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ
1. เพราะ hosxp V4 ยังมีรหัสที่ยกเลิกแล้วหลุดมา เช่น M5450- M5459  เป็นต้น
2.บางรหัสโรคใส่รหัส 4 หลัก พอ group ผ่าน  thai drg grouper V 5.1.1 ได้ และมีความสมบูรณ์ มีคุณภาพเพียงพอในแง่ความสมบูรณ์ของการให้รหัส ก็ควรให้บันทึกรหัสนั้นๆได้ ซึ่งต้องสอดคล้องกับการสรุปโรคของแพทย์ด้วย เช่น     S060 Concussion   ควรให้สามารถบันทึกได้ ไม่ต้องบังคับให้เลือก S0600 Concussion: without open intracranial wound   หรือ S0601 Concussion: with open intracranial wound หรือ S7200 Fracture of neck of femur: closed ไม่จำเป็นต้องบังคับให้เลือก S72000- S72009 ซึ่งเป็นรหัส TM เพราะสุดท้ายก็จะถูกเลือกเป็น S72009 Closed Fracture of neck of femur, unspecified (TM)    อยู่ดี
3.ในการณีที่มีผลกับคนไข้ใน ก็ควรเอาแนวทางการให้รหัสมาใช้กับผู้ป่วยนอกด้วย แม้ opd case ไม่ต้อง grouper เพราะจะยุ่งยากมากในการแยกรหัส ipd opd case อีก

ออฟไลน์ udomchok

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 8,358
  • Respect: +589
    • ดูรายละเอียด
    • ร.พ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17
Re: รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2015, 18:29:35 PM »
0
Grouper เหมาะสำหรับผู้ป่วยในครับ
ทำด้วยหัวใจร.พ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
อบรมโดย BMS Team เมื่อ พ.ย. 49 ขึ้นระบบห้องบัตรเมื่อ X'Mas 2007
2008 : X-Ray กายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย กิจกรรมบำบัด OPD ตา
2009 : ทันตกรรม ห้องตรวจตา OPD (พยาบาลและห้องตรวจแพทย์บางห้อง)

ออฟไลน์ watson3387

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 5
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2015, 19:17:15 PM »
0
จริงๆผมเขียนเผื่อประเด็นท่านที่จะตอบเรื่องคุณภาพ เรื่อง ipd opd grouper เผื่อไว้แล้ว คงต้องเป็นหน้าที่ของผู้พัฒนาแล้วล่ะครับ ถ้างั้นก็แยกฐานข้อมูลโรคออกจากกันเลยระหว่างการบันทึกโรคผู้ป่วยนอก กับผู้ป่วยในซึ่งต้องอิงกับ grouper อยู่แล้ว เพราะคือกติกาในปัจจุบัน หรือผมเข้าใจอะไรผิดก็ชี้แนะได้ครับ

ออฟไลน์ udomchok

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 8,358
  • Respect: +589
    • ดูรายละเอียด
    • ร.พ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17
Re: รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2015, 19:39:33 PM »
0
การปรับฐานข้อมูลรหัสโรค/รหัสหัตถการ หรือรหัสอื่น ๆ เป็นหน้าที่ของ รพ. ที่จะต้องทำน่ะครับ
หรือใครทำไว้แล้วครบถ้วน อยากจะแบ่งปันก็เชิญได้
หากมั่นใจว่าถูกต้อง ครบถ้วน ก็ส่สงให้ อ.ชัยพร build รวมกับตัวติดตั้งใหม่ ๆ ได้
ทำด้วยหัวใจร.พ.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
อบรมโดย BMS Team เมื่อ พ.ย. 49 ขึ้นระบบห้องบัตรเมื่อ X'Mas 2007
2008 : X-Ray กายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย กิจกรรมบำบัด OPD ตา
2009 : ทันตกรรม ห้องตรวจตา OPD (พยาบาลและห้องตรวจแพทย์บางห้อง)

ออฟไลน์ watson3387

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 5
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2015, 20:29:32 PM »
0
นั่นสิครับ ถ้า BMS แบ่งเวลามาทำตรงนี้สักนิดก็ยังดี ประกาศรหัสเลิกใช้ก็มีถ้าจำไม่ผิดตั้งแต่ปี 2551 เรื่อยมา ปี 2555  ก็มี ส่วน icd10TM ดีครับ ผมมองในเชิงอุดมคติด้วยซ้ำในการทำให้เกิดทางปฏิบัติ คือต้องขึ้นกับแต่ละหน่วยงานด้วย ถ้าจะผลักดันให้ TM เกิดคงต้องคุยพร้อมๆกันทั้งภาครัฐ /สปสช.ครับ คือผู่บริหารมองแต่เรื่องตอบโจทย์ datasets ได้ครบถ้วนก็พอใจ เลยไม่มีคนมองเรื่องนี้ทั้งๆที่เวลาทำงาน หน่วยงานไหนที่ให้รหัสโดยเปิด icd10tm ที่ผมเห็นเล่มปกแข็งขนาดวิทยานิพนธ์หนักเป็นกิโลบ้าง เพราะผมใช้ icd10-2010 ทั้งเวลาบันทึกข้อมูล เห็นใจคนทำงานหน้างานครับ คหสต.ล้วนๆครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 14, 2015, 20:38:28 PM โดย watson3387 »

ออฟไลน์ watson3387

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 5
  • Respect: +1
    • ดูรายละเอียด
Re: รหัส icd 10 ทำไมไม่เอาฐานข้อมูลจาก thai drg grouper V 5.1.1 เลยครับ
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: กรกฎาคม 16, 2015, 12:00:47 PM »
0
รายละเอียดตาม หนังสือ Thai DRGs Version 5.0 Volume 1 กรกฎาคม 2554 มีหลายท่านเป็นผู้พัฒนาในนี้ และสามารถทำให้กระบวนการให้และบันทึกรหัสโรคใน HOSxP ได้ดีขึ้นครับ
A. Appendix A (Edits) 23
1. A1 Dagger-asterisk substitution 24
2. A2 Unacceptable principal diagnoses 32
3. A3 Age conflict 42
A3.1 Infant diagnoses (valid for age : 0 – 364/365 days)
A3.2 Young childhood diagnoses (valid for age : 0 day – 2 years)
A3.3.Childhood diagnoses (valid for age : 0 day – 10 years)
A3.4.Paediatric and adolescent diagnoses (valid for age : 0 day – 19 years)
A3.5 Post neonate diagnoses (valid for age : more than 27 days)
A3.6 Post infant diagnoses (valid for age : 1 year or older)
A3.7 Puberty diagnoses (valid for age : 8 – 19 years)
A3.8 Maternity diagnoses (valid for age : 9 – 60 years)
A3.9 Adult diagnoses (valid for age : more than 15 years)
A3.10 Mature adult (valid for age : more than 30 years)
4. A4 Sex conflict 56
A4.1 Female diagnoses
A4.2 Male diagnoses
A4.3 Female procedures
A4.4 Male procedures


หน้า
B. Appendix B (Procedure codes) 65
C. Appendix C (Procedure combinations) 85
D. Appendix D (Unrelated OR procedures) 87
E. Appendix E (Diagnosis codes) 89
F. Appendix F (Complications and comorbidities) 121
F1 PCCL and CCL
F2 DC Column Table
F3 CC Row Table
F4 CCL Matrix
F5 CC and exclusion lists
G. Appendix G (List of DRGs and Relative Weight) 191
H. Appendix H (การปรับค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ โดยใช้เกณฑ์วันนอน) 226
9. การปรับเปลี่ยนที่สำคัญจาก กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมฉบับที่ 4.0 229
10. รายนามผู้ร่วมประชุมระดมสมองและประชาพิจารณ์ 27 พย. 52 และ 27 สค. 53