การแก้ปัญหาแต่ล่ะที่อาจไม่เหมือนกัน เพราะขั้นตอนการทำงานอาจแตกต่างกันบ้างในบางขั้นตอน หรือเป็นที่ขั้นตอนในการรับยาผู้ป่วยเอง เช่น
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
อันนี้จะแก้ไขปัญหาไม่ได้เลย ถ้าคนไข้จะรอตรวจให้เสร็จทุกแผนกก่อน แล้วค่อยไปรับยาทีเดียวเลย ยกเว้น visit แรกมาตอนเช้า visit ที่ 2 มาตอนบ่าย
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
ส่วนอันนี้ จะมีผลในการทำสถิติ ถ้าใช้ visit เดียว แล้วตรวจได้ทุกแผนก จะทำให้สถิติจะไปอยู่ที่แผนกสุดท้ายที่ตรวจ
ผมขอแชร์ประสบการณ์ที่ รพ. ทำอยู่ละกันครับ (เพิ่งตกลงกันเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อไม่นานมานี้เอง)
1. visit ที่ 2,3,4 ตกลงกันไว้ก่อนว่าจะมีแนวทางอย่างไร
- ถ้าแค่ consult ไม่ต้องออก visit ใหม่
- ตรวจคนละแผนกต้องออก visit ที่ 2, 3, 4
- ส่วนว่าจะต้องกลับไปที่เวชระเบียนให้ออก visit ให้ใหม่ หรือจะให้แผนกล่าสุดเป็นคนออกให้ ก็แล้วแต่ รพ. ถ้าให้ออกให้เลย ณ จุดล่าสุด ก็ต้องเปิดสิทธิให้ จนท. อีก แต่ที่ รพ.ให้กลับไปที่เวชระเบียน โดย แผนกล่าสุดมีจดหมายน้อยไปให้เวชระเบียน ว่าคนไข้แสดงความจำนงจะตรวจที่แผนกไหนต่ออีก ถ้ามี visit ที่ 3, 4 ก็ทำเช่นเดียวกัน จะไม่มีปัญหาเรื่อง สถิติด้วย
2. ที่ห้องตรวจแพทย์จะไม่สับสนกับเรื่อง visit เนื่องจากเรามีใบสั่งยาไปให้แพทย์ด้วยและแพทย์ทุกท่านใช้ QN ในการเลือกผู้ป่วย เพราะ (บาง รพ. ใช้บัตรคิว)
- กดตัวเลขน้อยกว่า HN
- ไม่สับสนเรื่อง visit
3. เรื่องค่าบริการผู้ป่วย จะคิดครั้งแรก ครั้งเดียว
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
แต่เราสามารถไปกำหนดค่าบริการทางการแพทย์ทั่วไป ในเวลาและนอกเวลา ให้คิดแค่ครั้งเดียวต่อวันได้นี่น่า....เอหรือว่าไม่ได้แล้วครับ.....
เพื่อยืนยัน ตามรูป