เรียนรู้แนวทางการดําเนินงาน OP/PP Individual Data ปี 56
ตอนที่ 7
ลิขสทธิ ิ์ถูกต้อง ห้ามเผยแพร่โดยไมได่ ้รบอน ั ุญาต
คิดคม สเลลานนท์ E-mail : kidkom@gmail.comโทร 085-2507785
OPPPbyKIDKOM (htttp://www.facebook.com/OPPPbyKIDKOM)
เขียนเมื่อ 12 สิงหาคม 2555 : 09.45 (วันแม่แห่งชาติ)
สําหรับข้อ1คงไม่มีปัญหาอะไรครับ น่าจะเข้าใจได้ง่ายเพราะตรงไปตรงมาส่วนข้อ 2และข้อ 3ขอขยายความดังนี้ครับ
- ต้องมีเลขประชาชนในฐานข้อมลประชากรของ ู สปสช. ตรงนหมายความว ี้ ่าข้อมูลที่ส่งมาหากเป็น CID หรือเลข 13 หลักที่ไม่มีในฐานของสปสช. ก็
จะผ่านการตรวจสอบครับ เช่น ต่างด้าวที่ไม่ขนทะเบ ึ้ ียน เพียงแต่จะไม่ถูกนํามาคิด Point เท่านนคร ั้ ับ ดงนั นทั้ ี่บอกกันว่า CID ต่างด้าวจะ Error จึงไม่
ถูกต้องครับ
- การให้บรการผ ิ ู้ป่วยนอก 1 คนใน 1วัน จะได 1้ คะแนน ตรงนี้มการเข ี ้าใจผิดกันมากว่า 1 คนมารบบร ั การบ ิ นทั ึกได้แค่ 1 ครั้งใน 1วัน ซึ่งจรงๆิ
แล้วก็ไม่ถูกต้องอีกเช่นกัน ในส่วนของการคิดคะแนนนนั้ เป็นเรองของการน ื่ บเท ั ่านั้นไม่เกี่ยวกับจํานวน Record ที่บันทึกเข้ามาครับ เนื่องจากแต่ละ
โปรแกรมที่หนวยบร ่ ิการใช้อยู่อาจมีการออกแบบการบันทึกที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะในโรงพยาบาล บางที่อาจมีการออกแบบให้มีเพยงี 1 SEQ ในการมา
รับบริการแตละคร ่ ั้งแม้จะไปหลายคลินิกเช่น ไป 3คลินิกก็อาจมี 3 Records ใน SERVICEแต่มี 1 SEQ แต่บางที่อาจแยกออกเป็น 3 SEQ ทําให้การ
นับ VISITจาก SEQ จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างลําบากดงนั นั้ สปสช. จึงใช้การนับคนและวนในการค ั ิดคะแนนแทน (ตอนหน้าผมจะนํารูปมาอธิบายอีกที) ซึ่ง
ไม่มีผลกับการบันทึกข้อมูลครับ (และไม่เกี่ยวกับการจัดสรรเงินการให้บริการ OP นะครับ อย่าเอามาปนกัน หากอ่านมาตั้งแต่ตอนต้นๆคงเข้าใจ)
สุดท้ายเงื่อนไขแจ้งว่า จะพจารณาเฉพาะรห ิ ัสการวนิิจฉนทั ี่บ่งชี้ว่าเป็นโรคหรืออาการแสดงว่าเจ็บป่วย หรือรหสทั ระบ ี่ ุว่าเปนผ็ ู้ป่วยนอกเท่านนั้
ตรงนี้จริงๆก็ไม่ยากอะไรครับ แต่หลายคนไปพยายามจะหาว่ารหัสใดใช่ OP หรือไม่ใช่ OPซึ่งอาจไม่จําเป็น แตส่ ิ่งที่จําเป็นคือต้องบันทึกให้ตรงตามสิ่งที่
ทําเท่านั้นครบั หากให้การรักษาก็ต้องบันทึกการวนิิจฉยโรคให ั ถู้กต้อง หรือหากให้กิจกรรมที่เป็น PPก็ต้องให้รหสให ั ้ถูกต้องเช่นเดยวก ี ัน ส่วนการที่มันจะ
เป็นรหัส OP หรือไม่ก็เป็นไปตามข้อเท็จจริงอยู่แล้วครับ ดังนั้น สิ่งที่ต้องทําก็คือ บันทึกสิ่งที่ทําและบันทึกให้ถูกต้องตามหลักการให้รหัสการวินิจฉัยครับ
.....ตามที่ผมก๊อปปี้มาลงเพื่อสอบถามท่านอาจารย์เกื้อกูล และเพื่อนสมาชิกว่า ....สมมุติกรณีคนไข้มาตรวจวันที่ 1 กรกฏาคม 2556 เวลา 9.00 น. เป็น K30 พอช่วงบ่าย 14.00 น.มาตรวจด้วยอาการเดิม หมอให้รับยาเดิมแล้วกลับบ้าน ในตรงนี้เราต้องลงทะเบียนส่งตรวจใหม่ หรือว่า ใช้ข้อมูลอันเดิมที่มาตรวจตอนเช้าแก้ไขเพิ่มยา เพิ่ม Dx. ใหม่ แล้วจะมีผลต่อการส่งข้อมูล 21 แฟ้ม OP/PP หรือไม่อย่างไร