แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - มดตานอย ครับ..

หน้า: 1 ... 56 57 [58] 59 60 ... 63
2851
MySQL / Re: Mysql 64 bit มีload ที่ไหนครับ
« เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 11:48:49 AM »
ใช้ config     my.cnf    ตามที่ อ.mn  แนะนำนะครับ   แต่    mysql 5.1.22   ต้อง comment 1บรรทัดตามข้างล่างนะครับ      mysql  ถึงจะรันได้       อ. mn   บอก

#innodb_log_arch_dir = /var/lib/mysql/

2852
MySQL / Re: Mysql 64 bit มีload ที่ไหนครับ
« เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 10:57:42 AM »
ftp://ftp.oss.eznetsols.org/mysql/Downloads/MySQL-5.1/

-MySQL-client-5.1.22-0.glibc23.x86_64.rpm

-MySQL-shared-5.1.22-0.glibc23.x86_64.rpm

-MySQL-server-5.1.22-0.glibc23.x86_64.rpm



2853
MySQL / Re: HOSxP+MySQL5.1.22
« เมื่อ: ธันวาคม 02, 2007, 21:09:12 PM »
มีที่ใดใช้   hosxp   กับ   MySQL5.1.22   บ้างครับ   ......ขอบพระคุณครับ

2854
บันทึกโรค  ผป.ใน ไม่ได้ครับ   ...เป็นเหมือนกัน

2855
Development / Re: HOSXP 3.50.11.27
« เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2007, 09:09:49 AM »
ยังติดใจ   3.50.11.21   ทดสอบยังไม่หมด    3.50.11.27   ออกมาแล้ว    สุดยอดๆ จะรีบโหลดมาลอง
อ.อ๊อด   เสือปืนไวจริงๆ อัพเดตก่อนใครเพื่อน   ;D ;D ;D ;D ;D

2856
MySQL / Re: mysql5.1.22+linux
« เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2007, 23:30:09 PM »
log file   ของ  mysql  เก็บไว้ตรงไหนครับ.....ขอบพระคุณครับ

2858
MySQL / Re: mysql5.1.22+linux
« เมื่อ: พฤศจิกายน 22, 2007, 21:17:22 PM »
5.1.22   ครับ

2859
ยินดีต้อนรับ / Re: MySQL5.1.22 New!!!
« เมื่อ: พฤศจิกายน 22, 2007, 19:32:36 PM »
ftp://ftp.stu.edu.tw/pub/Unix/Database/Mysql/Downloads/MySQL-5.1/

-MySQL-client-5.1.22-0.glibc23.i386.rpm
-MySQL-server-5.1.22-0.glibc23.i386.rpm
-MySQL-shared-5.1.22-0.glibc23.i386.rpm

2860
MySQL / mysql5.1.22+linux
« เมื่อ: พฤศจิกายน 22, 2007, 18:26:36 PM »
มีท่านใดที่ติดตั้ง  mysql5.1.22   บน  linux   ใน  redhat   fedora   centos    แล้วผ่านไม่มีปัญหา   อยากทราบการ set  my.cnf    ...ขอบพระคุณครับ

2861
Development / Re: HOSXP 3.50.11.21
« เมื่อ: พฤศจิกายน 21, 2007, 21:36:33 PM »
อ.อ๊อด  เสือปืนไวจริงๆ   update ก่อนใครเพื่อน นับถือๆ    

2862
MySQL / HOSxP+MySQL5.1.22
« เมื่อ: พฤศจิกายน 20, 2007, 22:37:12 PM »
สามารถใช้ hosxp   กับ  mysql5.1.22   ยังครับ  และผม config  mysql5.1.22  บน  linux ไม่ได้  เอาตัว  config    my.cnf    ที่ อ.   แนะนำ แล้วไม่สามารถรัน  mysql ได้   ต้องเอาค่า default  ที่มากับ  mysql  จึงรันได้ตอนลงครั้งแรก ...ขอบพระคุณครับ
 ??? ??? ??? ??? ???


2863
Linux / Re: Solaris 10 VS mysql 5.0.37 HOSXP 3.50.11.17
« เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2007, 23:16:42 PM »
ผมก็ว่าเก่าน่าดู  ของแท้ update เปล่าน้อ

2864
Development / Re: HOSxP 3.50.11.17
« เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2007, 20:09:44 PM »
 download   เสร็จแล้ว   มาติดตั้งมันฟ้อง  error  ตรวจสอบให้หน่อยครับ.......ขอบพระคุณครับ

2865
Linux / Fedora 8 New !!!!!!!!!!
« เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2007, 19:02:34 PM »
Fedora  8  ออกมาใหม่ แล้วครับ  พร้อมใช้งาน     

  http://fedoraproject.org/


2866
ยินดีต้อนรับ / Re: เรื่องคนไข้ค้างชำระ
« เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2007, 09:12:30 AM »
อยากทราบเหมือนกัน

2867
v3.50.11.14   การเรียงลำดับรหัสโรคถูกแล้วครับ    แต่รหัสผ่าตัดไม่เข้าเลยครับ  ไม่มีใน  table  an_stat
...ขอบพระคุณครับ
 

2868
3.50.11.8    ในหน้าจอการบันทึก โรค ผป.ใน   นั้นเรียงแล้วครับ     แต่ใน table  an_stat    ยังไม่เรียงครับ
ทั้ง รหัสโรค และรหัสผ่าตัด

         

2869
Development / Re: HOSxP 3.50.11.10
« เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2007, 09:02:07 AM »
เกียวกับ  การเรียงลำดับโรคครับ .......3.50.11.8   ยังไม่แก้เรียงลำดับโรคครับ   ( หน้าจอการบันทึกโรคผป.ใน นั้นเรียงแล้วครับ  แต่ใน  table   an_stat    ยังไม่เรียงครับ  จะเรียงตามรหัสโรค A-Z  ซึ่งไม่ถูกต้อง  และรหัสผ่าตัดเรียงตามชื่อ  A-Z   เหมือนกัน   ซึ่งไม่ถูกต้อง  ตามการสุปใน   discharge summary  ที่แพทย์สรุป  )   3.50.11.10   แก้ยังครับ

2870
เกียวกับ  การเรียงลำดับโรคครับ .......3.50.11.8   ยังไม่แก้เรียงลำดับโรคครับ   ( หน้าจอการบันทึกโรคผป.ใน นั้นเรียงแล้วครับ  แต่ใน  table   an_stat    ยังไม่เรียงครับ  จะเรียงตามรหัสโรค A-Z  ซึ่งไม่ถูกต้อง  และรหัสผ่าตัดเรียงตามชื่อ  A-Z   เหมือนกัน   ซึ่งไม่ถูกต้อง   )   3.50.11.10   แก้ยังครับ....ขอบพระคุณครับ

2871
Acer Altos G540 
 
 
 

 

Processor type                 2-way Xeon with L2 2X2MB, 4MB Dempsey / Woodcrest  Support Duo Core and Dual processors

CPU                               Bundle with Xeon 5060 3.2Ghz (Duo Core)

CPU L2 Cache                 2x2MB

Front Side Bus                1066 Mhz

Memory                         Max 16/32GB Reg DDR2 SDRAM  ECC DDR2 533/667 Bundle with Memory 1024MB

Network Controller           Gigabit Ethernet x 2

VGA Controller                ATI Range XL Onboard 8MB SDRAM

Host SCSI Controller       Optional, SAS daughter card, support 0,1,1e

RAID Onboard                Optional, SAS RAID add on card, RAID5, 10, 50 SATA RAID 0,1

Bus  type                      PCI E, PCI x, PCI

Expansion Slots             3x PCI-Express x8   2x 64-bit/66Mhz/5V PCI-X 1x32-bit/33MHz/5V PCI

Floppy& CD-ROM           Bundle with 1.44 MB, 3.5" Bundle with Combo DVD/CDRW

Media Bays                   1x 3.5"(for FDD)  1x 5.25" (for CD-ROM)  1x 5.25" open  2x(4x3.5") SCSI HP cages or SATA HP cages

Max.# internal Disks      8 hotswap HDD bays  support SATA/SAS

Storage space               NO

Power Supply               Support Redundant  Power Supply (2nd is Option)

Dimension                Tower/Rack mountable

OS Certificate           Windows Server 2003 Ent     Windows Server 2003 64bit   Red Hat Enterprise 4.0   Novell NetWare 6.5  SCO UnixWare 7.1.4

                              SCO OpenServer 5.0.7  Suse Linux Enterparise Server 9.0

Warranty                 3 year onsite by AcerCare

 
 
 

2872
อีกอย่าง.......ผมทดลองกับ  3.50.11.5    หน้าจอส่งตรวจ    พอส่งตรวจแล้วคีย์สิทธิ์ผิด   พอคีย์ใหม่เพื่อแก้ไขสิทธิ์กับเป็นตัวอื่น ไม่เหมือนตอนแรกที่คีย์......ครับ. ที่อื่นเป้นบ้างไหมครับ .............รอทดสอบ   3.50.11.8  ครับ....ขอบพระคุณครับ

2874
ด่วนมาก..ขอปรึกษาการเรียงลำดับโรคผป.ใน   คือได้บันทึกโรคของผป.ใน แล้ว  พอบันทึกเสร็จในกรณีที่ผป. มีโรคเยอะ  hosxp  จะทำการเรียงโรคให้ใหม่  ซึ่งไม่ตรงกับการเรียงใน  summary   และการให้รหัส   
แต่  pdx  ยังคงเหมือนเดิม   แต่โรคต่อไป 2 3 4 5   ไปเรื่อยๆ เรียงไม่เป็นตามที่สรุป และให้รหัสตาม  summary   ครับ   รวมทั้ง  รหัสผ่าตัดด้วยครับ     ไม่ทราบว่า  hosxp เวอร์ชั่นใหม่ๆได้แก้ไขยังครับ   
ปัจจุบัน   ใช้ เวอร์ชั่น   3.50.10.4      ..........ขอบพระคุณมากครับ

2875
3.50.11.5     หน้าจอส่งตรวจ     ส่งตรวจแล้ว.........พอดึงมาแก้ไขสิทธิ์ ปรากฎว่าไม่เป็นสิทธิ์เดิมที่บันทึกตอนแรก  ที่อื่นเป็นไหมครับ

2877
ดีขึ้นครับเร็วมากขึ้น   แนะนำให้ใช้ MySQL5.0.45   ครับ     แนวทางทำคือ  set server มาอีก หนึ่งตัว ติดตั้ง mysql 5.0.45         ไปที่ sever หลัก  กำหนดที่ slave   แล้วทำ initail import  ไป server ที่เพิ่งติดตั้งเสร็จ  จะใช้เวลา น้อยกว่าการทำ  backup  / restore   เกือบครึ่งต่อครึ่ง   และหมดปัญหาการนำเข้า table ที่ไม่ครบครับ


2878
สนใจเหมือนกันครับ  เคยทดลองแล้วกับ version  เดิม   หลักการดีครับ   จะรอทดสอบตัวใหม่ครับ ...ขอบพระคุณครับ

2879
รหัสการวินิจฉัยและรหัสหัตถการ ที่ปรับปรุงใน TDRG 4.0 
ตุลาคม 2550
________________________________________
1.   รหัสการวินิจฉัย (ICD-10) ที่เพิ่มขึ้น
1.1.   เพิ่มรหัสวินิจฉัย  ICD-10 ตามการปรับปรุงรหัสขององค์การอนามัยโรค (WHO)   เริ่มใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2550
1.1.1.   รหัสโรคไข้หวัดนก
      J09    Influenza due to identified avian influenza virus 
Influenza caused by influenza viruses that normally infect only birds and, less commonly, other animals.
1.1.2.   รหัสย่อยของ Acute pancreatitis
      K85   Acute pancreatitis 
Abscess of pancreas
Necrosis of pancreas:
• acute
• infective
Pancreatitis:
• NOS
• acute (recurrent)
• haemorrhagic
• subacute
• suppurative
K85.0   Idiopathic acute pancreatitis 
K85.1   Biliary acute pancreatitis 
 Gallstone pancreatitis
K85.2   Alcohol-induced acute pancreatitis 
K85.3   Drug-induced acute pancreatitis 
            Use additional external cause code (Chapter XX), if desired, to identify drug 
K85.8   Other acute pancreatitis 
K85.9   Acute pancreatitis, unspecified 
1.1.3.   รหัสอื่นๆ
G90.4 Autonomic dysreflexia
K22.7 Barrett’s esophagus
Barrett’s:
• disease
• syndrome
Excludes: Barrett’s ulcer (K22.1)
M31.7 Microscopic polyangiitis
Microscopic polyarteritis
Excludes: polyarteritis nodosa (M30.0)
M79.7 Fibromyalgia
Fibromyositis
Fibrositis
Myofibrositis
O60   Preterm delivery labour
Onset (spontaneous) of delivery labour before 37 completed weeks of gestation
O60.0 Preterm labour without delivery
O60.1 Preterm labour with preterm delivery
Preterm labour with delivery NOS
O60.2 Preterm labour with term delivery
R29.6 Tendency to fall, not elsewhere classified
Tendency to fall because of old age or other unclear health problems
Excludes:  accidents NOS (X59)
difficulty in walking (R26.2)
dizziness and giddiness (R42)
falls causing injury (W00-W19)
falls due to diseases classified elsewhere
syncope and collapse (R55)
R50.2 Drug-induced fever
Use additional external cause code (Chapter XX), if desired, to identify drug.
R50.8 Other specified fever
Fever with chills
Fever with rigors
Persistent fever
W46   Contact with hypodermic needle
Z58.7 Exposure to tobacco smoke
Passive smoking
Excludes:  Mental and behavioural disorders due to the use of tobacco (F17.-)
Personal history of psychoactive substance abuse(Z86.4)
Tobacco use (Z72.0)
Z92.6 Personal history of chemotherapy for neoplastic disease
1.2.   รหัสวินิจฉัย  ICD-10-TM ที่เพิ่มจาก WHO และไม่มีอยู่ใน TDRG 3.0  จำนวน 1053 รหัส ที่คณะผู้จัดทำได้รับเมื่อดำเนินการจัดทำ TDRG 4.0 ในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2550  รหัสเหล่านี้ ในหนังสือ การจัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม และน้ำหนักสัมพัทธ์ ฉบับที่ 4.0 มีคำว่า “(TM)” ที่ท้ายข้อความอธิบายรหัส
2.   รหัสการวินิจฉัย (ICD-10) ที่ยกเลิก
ยกเลิกตั้งแต่ 1 เมษายน 2550 จำนวน 4 รหัส ดังนี้
K85   Acute pancreatitis
O60   Preterm delivery      
R50.0   Fever with chills
Fever with rigors
R50.1   Persistent fever

 
3.   รหัสหัตถการ (ICD-9-CM) ที่เพิ่มขึ้น
ปรับปรุงรหัสเป็นรุ่นปี 2007 เริ่มใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2550
00.18    Infusion of immunosuppressive antibody therapy during induction phase of solid organ transplantation.
00.40   Procedure on single vessel .
00.41   Procedure on two vessels
00.42   Procedure on three vessels
00.43   Procedure on four or more vessels
00.44   Procedure on vessel bifurcation
00.45   Insertion of one vascular stent
00.46   Insertion of two vascular stents
00.47   Insertion of three vascular stents
00.48   Insertion of four or more vascular stents
00.56   Insertion or replacement of implantable pressure sensor (lead) for intracardiac hemodynamic monitoring
00.57   Implantation or replacement of subcutaneous device for intracardiac hemodynamic monitoring
00.66    Percutaneous transluminal coronary angioplasty [PTCA] or coronary atherectomy
00.70   Revision of hip replacement, both acetabular and femoral components
00.71   Revision of hip replacement, acetabular component
00.72   Revision of hip replacement, femoral component
00.73   Revision of hip replacement, acetabular liner and/or femoral head only
00.74    Hip replacement bearing surface, metal on polyethylene
00.75    Hip replacement bearing surface, metal-on-metal
00.76    Hip replacement bearing surface, ceramic-on-ceramic
00.77   Hip replacement bearing surface, ceramic-on-polyethylene
00.80   Revision of knee replacement, total (all components)
00.81   Revision of knee replacement, tibial component
00.82   Revision of knee replacement, femoral component
00.83   Revision of knee replacement, patellar component
00.84   Revision of total knee replacement, tibial insert (liner)
00.85   Resurfacing hip, total, acetabulum and femoral head
00.86   Resurfacing hip, partial, femoral head
00.87   Resurfacing hip, partial, acetabuluin
01.26    Insertion of catheter into cranial cavity
01.27    Removal of catheter from cranial cavity
01.28   Placement of intracerebral catheters via burr hole(s)
13.90   Operation on lens, Not Elsewhere Classified
13.91   Implantation of intraocular telescope prosthesis
32.23   Open ablation of lung lesion or tissue
32.24   Percutaneous ablation of lung lesion or tissue
32.25   Thoracoscopic ablation of lung lesion or tissue
32.26   Other and unspecified ablation of lung lesion or tissue
33.71   Endoscopic insertion or replacement of bronchial valve(s)
33.78   Endoscopic removal of bronchial device(s) or substances
3379   Endoscopic insertion of other bronchial device or substances
35,55   Repair of ventricular septal defect with prosthesis, closed technique
36.33   Endoscopic transmyocardial revascularization
36.34   Percutaneous transmyocardial revascularization
37.20   Noninvasive programmed electrical stimulation [NIPS]
37.41   Implantation of prosthetic cardiac support device around the heart
37.49   Other repair of heart and pericardium 
39.73    Endovascular implantation of graft in thoracic aorta
39.74   Endovascular removal of obstruction from head and neck vessel(s)
50.23   Open ablation of liver lesion or tissue
50.24   Percutaneous ablation of liver lesion or tissue
50.25   Laparoscopic ablation of liver lesion or tissue
50.26   Other and unspecified ablation of liver lesion or tissue
55,33   Percutaneous ablation of renal lesion or tissue
55.32   Open ablation of renal lesion or tissue
5534   Laparoscopic ablation of renal lesion or tissue
5535   Other and unspecified ablation of renal lesion or tissue
68.41   Laparoscopic total abdominal hysterectomy
68.49   Other and unspecified total abdominal hysterectomy
68.61   Laparoscopic radical abdominal hysterectomy
68.69   Other and unspecified radical abdominal hysterectomy
68.71   Laparoscopic radical vaginal hysterectomy [LRVHJ
68.79   Other and unspecified radical vaginal hysterectomy
81.18    Subtalar joint arthroereisis
84.56   Insertion of (cement) spacer
84.57   Removal of (cement) spacer
84.58    Implantation of interspinous process decompression device
84.71    Application of external fixator device, monoplanar system
84.72    Application of external fixator device, ring system
84.73    Application of hybrid external fixator device
86.97   Insertion or replacement of single array rechargeable neurostimulator pulse generator
86.98   Insertion or replacement of dual array rechargeable neurostimulator pulse generator
92.20    Infusion of liquid brachytherapy radioisotope
4.   รหัสหัตถการ (ICD-9-CM) ที่ยกเลิก
4.1.   ยกเลิกตั้งแต่ 1 มกราคม 2550
37.5   Heart transplantation
67.5   Repair of internal cervical os
68.3   Subtotal abdominal hysterectomy
81.09   Refusion of spine, any level or technique
4.2.   จะยกเลิก 1 ตุลาคม 2551
13.9   Other operations on lens
36.01   Single vessel percutaneous transluminal coronary angioplasty [PTCA] or coronary atherectomy without mention of thrombolytic agent.
36.02   Single vessel percutaneous transluminal coronary angioplasty [PTCA] or coronary atherectomy with mention of thrombolytic agent.
36.05   Multiple vessel percutaneous transluminal coronary angioplasty [PTCA] or coronary atherectomy performed during the same operation, with or without mention of thrombolytic agent.
37.4   Repair of heart and pericardium
68.4   Total abdominal hysterectomy
68.6   Radical abdominal hysterectomy
68.7   Radical vaginal hysterectomy
81.61   360 degree spinal fusion, single incision approach

________________________________________


2880
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมฉบับที่ 4.0
เทียบกับฉบับที่ 3.0
กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมฉบับที่ 4.0 มีการปรับปรุงที่สำคัญจากฉบับที่ 3.0 หลายประการ  ได้แก่
1.  การจัดกลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็ง   ในฉบับที่ 4.0 ยึดตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดว่า เมื่อเรื่องหลักที่ให้การรักษาเกี่ยวข้องกับมะเร็ง ให้ใช้รหัสโรคมะเร็งเป็น PDx  เช่น ในการรักษาผู้ป่วย  Acute myeloid leukemia (C92.0) ที่ไม่มีอาการ โดยเคมีบำบัด (Z51.1) จะต้องสรุปว่า PDx คือ C92.0 ซึ่งต่างจากกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมฉบับที่ 3.0 ที่ให้ใช้ Z51.1 เป็น PDx
อย่างไรก็ตามผู้ป่วยที่โรคมะเร็งอาจมี PDx ที่ไม่ใช่รหัสโรคมะเร็งก็ได้ เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับบาดเจ็บจากจากสาเหตุภายนอก แล้วเข้ารับการรักษาด้วยปัญหาหลักคือ การบาดเจ็บ Pdx ก็คือรหัสของการบาดเจ็บนั้น  ผู้ป่วยโรคมะเร็งเข้ารับการรักษาด้วยโรคที่ไม่เกี่ยวข้องกับมะเร็งที่เป็นอยู่ (เช่น ปอดบวม กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ฯลฯ) Pdx ก็คือรหัสของโรคที่เข้ารับการรักษานั้น (ปอดบวม กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ฯลฯ)
2.  ในฉบับที่ 4.0 มีการแยกกลุ่มของการรักษาโรคมะเร็งโดยไม่มีการผ่าตัด ใน MDC ต่างๆ ตามการรักษาที่ได้รับเป็น 6 กลุ่มคือ
-  กลุ่มที่มีทั้ง chemotherapy และ radiotherapy
-  กลุ่มที่มี chemotherapy อย่างเดียว
-  กลุ่มที่มี radiotherapy อย่างเดียว
-  กลุ่มที่มี การทำหัตถการเพื่อการวินิจฉัย
-  กลุ่มที่มีการให้เลือด
-  กลุ่มอื่น  ที่ไม่มีการตรวจรักษาดังข้างบน
ซึ่งต่างจากฉบับที่ 3.0 ที่จัดกลุ่มโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ใน MDC เดียวกันไว้เป็นกลุ่มเดียว โดยไม่ให้ความสำคัญกับประเภทการรักษา  รวมทั้งการรักษาโรคมะเร็งชนิดต่างๆ โดย chemotherapy และ/หรือ radiotherapy ถูกจัดรวมกันเป็นกลุ่มใน MDC 17
3.  การจัดกลุ่มสำหรับการดูแลรักษาที่มีการทำหัตถการต่างๆ โดยเฉพาะหัตถการในห้องผ่าตัด มีการจัดกลุ่มที่แยกแยะและสอดคล้องกับการดูแลรักษา และการใช้ทรัพยากรมากขึ้นโดย
- การรับรู้การทำหัตถการเดียวกัน หลายครั้ง/ข้าง/แห่ง ในการรักษาเป็นผู้ป่วยในครั้งเดียว (โดยการรับรหัสหัตถการที่มีส่วนขยาย (Extension) เช่น DRG ต่างกันระหว่างการผ่าตัดต้อกระจก 2 ข้าง กับข้างเดียว  ระหว่างการทำ Debridement ครั้งเดียว กับหลายครั้ง เป็นต้น
- การแยกแยะการทำหัตถการหลายหัตถการที่แตกต่างกันมากขึ้น เช่น การผ่าตัดที่มีการเปลี่ยนลิ้นหัวใจ 2 ลิ้น (เช่น Mitral valve replacement + aortic valve replacement) และ 1 ลิ้น (เช่น  Mitral valve replacement หรือ aortic valve replacement อย่างใดอย่างหนึ่ง) จัดเป็นกลุ่ม DRG ที่ต่างกัน
4.  การรับรู้หัตถการต่างๆ  มากขึ้น  เช่น รหัสการตรวจและ minor  procedures ต่างๆ  รหัสหัตถการใหม่ที่มีเพิ่มขึ้นใน ICD-9-CM 2007 เช่น รหัสเกี่ยวกับการใส่ และแก้ไขข้อเทียม การทำหัตถการผ่านเส้นเลือดต่างๆ
5.  การแยกแยะกลุ่มการทำหัตถการมากขึ้น  เช่น  กลุ่ม Craniotomy, การผ่าตัดเปลี่ยนและแก้ไขข้อเทียม  การแยก open และ laparoscopic surgery
6. การแยกกลุ่มหัตถการในบาง  MDC รวมทั้งกรณีการผ่าตัดที่ไม่สัมพันธ์กับ PDx แยกให้ละเอียดมากขึ้นเป็น 7 กลุ่ม (ในฉบับที่ 3.0 แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ Extensive, Prostatic และ Non extensive OR procedures)
7.  การแยกแยะกลุ่มโรคมากขึ้น  เช่น  ไข้เลือดออก, Leptospirosis, Guillain Barre syndrome การแยกกลุ่มโรคเกี่ยวกับการติดเชื้อพยาธิในลำไส้และท้องเดิน เป็นต้น
8. การปรับปรุงการจัดกลุ่มทีสำคัญใน MDC 14, 15, 24 และ PreMDC รวมทั้งเพื่อลด Unrelated OR procedure ที่ไม่สมควร
- ใน MDC 14 มีการแยกกลุ่มสำหรับการคลอดทางช่องคลอดที่มีการทำหัตถการร่วมเป็นหลายกลุ่มโรค เช่นการคลอด ที่มีการผ่าตัดสำหรับการรักษาภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง  ที่มีการทำหมันร่วมด้วย และที่มีหัตถการช่วยคลอด แยกเป็น 3 กลุ่มโรค (ในฉบับที่ 3 จัดเป็นกลุ่มเดียว)
- ใน MDC 15 มีการรับรู้การผ่าตัดสำคัญในเด็กแรกเกิดเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก  และมีการจัดกลุ่มมากขึ้น เพื่อแยกแยะหัตถการที่ต่างระดับกัน
- ใน MDC 24 การจัดเป็น  Multiple Significant Trauma เป็นได้ทั้งจากการมีการบาดเจ็บที่สำคัญหลายแห่ง และจากการทำหัตถการสำคัญหลายแห่ง และมีการจัดกลุ่มใหม่ที่ละเอียดมากขึ้น
- ใน PreMDC มีการปรับปรุงและเพิ่มกลุ่มสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการเจาะคอ ให้มีการแยกแยะที่สอดคล้องกับความยากลำบากในการดูแลรักษามากขึ้น
- มีการปรับปรุงเพื่อลดการเกิด Unrelated OR procedure ที่ไม่สมควร (เช่น การผ่าตัดต้อเนื้อในผู้ป่วยที่เป็นต้อเนื้อ) ที่พบในฉบับที่ 3.0
9. การเปลี่ยนแปลงรหัสโรคและหัตถการที่ใช้  ดูในเอกสาร  “รหัสการวินิจฉัยและรหัสหัตถการ ที่ปรับปรุงใน TDRG 4.0”
10.  รหัสดอกจัน (Asterisk  codes)  ทั้งหมดถูกจัดเป็น  Unacceptable  principal  diagnosis  เพื่อให้เกิดความถูกต้องตามหลักการให้รหัส  ICD ของ  WHO (ในฉบับที่ 3.0  รหัสเหล่านี้สามารถเป็น  PDx  ได้)
11. การปรับปรุงเกี่ยวกับรหัสโรคที่จัดเป็น CC เพื่อให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยมีทั้งการเพิ่มรหัส และตัดรหัสที่ไม่สมควรจัดเป็น CC
12. ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ไม่รวมค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษา 
13. การปรับค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ด้วยเกณฑ์วันนอน มีการใช้ตัวคูณ เพื่อให้ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับเพิ่มในกรณีที่วันนอนจริงมากกว่า OT ไม่มีความขัดแย้งในลักษณะที่ กลุ่มโรคที่มีความซับซ้อนในการดูแลรักษามากกว่า (CC สูงกว่า หรือมีการทำหัตถการมากกว่า) มีน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับต่ำกว่ากลุ่มโรคที่มีความซับซ้อนในการดูแลรักษาน้อยกว่า
=======================================

2881
โปรแกรมจัดกลุ่มสำหรับกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมฉบับที่ 4.0
(TDRG 4.0 Grouper)
เป็นโปรแกรมสำหรับใช้ในการหา DRG พร้อมทั้งค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ตามหนังสือ การจัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม และน้ำหนักสัมพัทธ์ ฉบับที่ 4.0  พ.ศ. 2550 (ตุลาคม 2550)  ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โปรแกรมนี้ใช้ข้อมูลสำหรับการหา DRG จากแฟ้มข้อมูล  แล้วบันทึก DRG และค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ลงในแฟ้มนี้ด้วย   แฟ้มข้อมูลดังกล่าวต้องเป็น Table (.DBF) ของ  Visual FoxPro และมีฟิลด์ต่างๆ ตามที่กำหนด (ดูรายละเอียดใน TGrp40Use.txt )
ข้อมูลที่ใช้ในการหา DRG (คำอธิบายโดยละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล มีในหนังสือการจัดกลุ่มฯ เล่ม 1 หน้า 5 - 11)
1.   รหัสการวินิจฉัยโรคหลัก (Principle Diagnosis, PDx)
ใช้รหัส ICD-10 ของ WHO (2007) และ ICD-10-TM (2007) ที่เพิ่มจาก  WHO
(รหัส ICD-10-TM จะแสดงในหนังสือโดยมีคำว่า “(TM)” ที่ท้ายข้อความอธิบายรหัส)
2.   รหัสการวินิจฉัยโรคอื่น (Secondary Diagnosis, SDx)
ใช้รหัส ICD-10 เช่นเดียวกับ PDx   แต่ละรายมีได้ 0 ถึง 12 รหัส
3.   รหัสการผ่าตัดและหัตถการ (Procedure, Proc)
ใช้ รหัส ICD-9-CM (ฉบับปี 2007) แต่ละรายมีได้ 0 ถึง 20 รหัส  แต่ละรหัสอาจมีส่วนขยาย เพื่อระบุการทำหลายครั้งหรือตำแหน่ง  แต่ต้องบันทึกให้ถูกต้องตามข้อกำหนดในหนังสือ
ตัวอย่าง การบันทึกรหัสที่มีส่วนขยายถูกต้อง
8622+11, 8622+12, 8622+13 (3 ครั้งๆ ละ 1 แห่ง)
8622, 8622+12, 8622+13 (3 ครั้งๆ ละ 1 แห่ง   8622 คือ 8622+11)
8622+21 (1 ครั้ง 2 แห่ง)
ตัวอย่าง การบันทึกรหัสที่มีส่วนขยายผิดจากข้อกำหนด
8622+11, 8622+12, 8622+14 (ไม่ถูกเพราะมีการข้ามครั้งที่ 3)
8622, 8622+13  (ข้ามครั้งที่ 2)
8622+22  (ข้ามครั้งที่ 1)
5.   อายุ
ฟิลด์สำหรับบันทึกอายุมี 2 ฟิลด์ได้แก่  Age คือ อายุเป็นปี   และ AgeDay คือเศษที่เหลือของปี นับเป็นวัน
โปรแกรมจะคำนวณอายุโดยใช้  DateAdm - DOB ถ้าคำนวณไม่ได้จะใช้อายุที่บันทึกโดยตรง (Age, AgeDay) ถ้าคำนวณได้จะใช้อายุที่ได้จากการคำนวณ
6.   น้ำหนักตัวแรกรับ (Admission weight, AdmWt) หน่วยคือกิโลกรัม
7.   เพศ (Sex) ค่าที่ใช้ได้คือ 1 หรือ 2
8.   ประเภทการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล (Discharge Type, Discht) ค่าที่ใช้ได้คือ 1,2,3,4,5,8,9
9.   วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล (Admission date, DateAdm)
10.   วันที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาล (Discharge date, DateDsc)
11.   ระยะเวลาที่นอนรักษาในโรงพยาบาล (Length of stay, CALLOS) ได้จาก  DateDsc – DateAdm
12.   วันที่ลากลับบ้าน (Leave day) ใช้ร่วมกับ CALLOS ในการหา AdjRW
ผลลัพทธ์จากการหา DRG
จะถูกบันทึกลงแฟ้มข้อมูล ในฟิลด์ดังต่อไปนี้  MDC, DRG, RW, WTLOS, OT, ADJRW, CALLOS, RESULT, ERR และ WARN
=======================================

2882
ตอนนี้น่าจะไม่มีนะครับ    นอกจากให้ อ.mn  เขียนเพิ่ม  ถ้าอยากจะตรวจสอบขอแนะนำให้ไปค้น chart แล้วมา audit  อีกที และการให้รหัสลายมือก็เป็นเอกลักษณ์ของใครของมันอยู่แล้ว  การที่ให้แพทย์วินิจฉัย ผป.ใน โดยให้รหัสที่ hosxp  เลย  อาจผิดพลาดได้มากครับ  ต้องให้แพทย์สรุปที่  chart ก่อน  แล้วมาให้รหัสอีกที ครับ
แล้วค่อยบันทึกใน hosxp ต่อไป      จะมีผู้ที่เกี่ยวข้อง 3  ส่วนด้วยกันคือ    แพทย์    ผู้ให้รหัส   ผู้บันทึกข้อมูล
ครบถ้วนตามแนว  coding  audit   
  ----ตรวจสอบ  แพทย์ผู้วินิจฉัยโรค
  ---- ตรวจสอบผู้ให้รหัส
  ---- ตรวจสอบผู้บันทึกข้อมูล

*****************************************************************************

2883
ยินดีต้อนรับ / Thai DRG Version 4.0 ออกแล้วครับ
« เมื่อ: ตุลาคม 26, 2007, 20:58:19 PM »
Thai DRG Version 4.0 ออกแล้วครับ
ข้อมูลเพิ่มเติมที่   www.chi.or.th

2884
ยินดีต้อนรับ / Re: เรื่อง icd9 แบบ 5 หลัก
« เมื่อ: ตุลาคม 26, 2007, 14:00:55 PM »
แต่ถ้ารหัสโรค  icd ที่มี 5 หลัก  นั้น  ในส่วนของ  External  cause จะมีครับ    หลักที่ 4 จะเป็นสถานที่   หลักที่ 5 จะเป็นกิจกรรม  ยกเว้นอุบัติเหตุจราจรและขนส่ง......

2885
ยินดีต้อนรับ / Re: เรื่อง icd9 แบบ 5 หลัก
« เมื่อ: ตุลาคม 26, 2007, 13:56:36 PM »
--------------------------------------------------------------------------------
อาจจะไม่ตรงประเด็น   icd9  ที่พูดถึงน่าจะเป็น  icd9-cm  ซึ่งเป็น รหัสผ่าตัดและหัตถการ  ส่วนรหัสโรคนั้นจะเป็น  icd10  ซึ่งบางท่านอาจจะสับสน   แล้วยังมี  icd10-tm  ซึ่งมีทั้งรหัสโรคและหัตถการ   ส่วนข้อแตกต่างระหว่าง icd10  กับ  icd10-tm  นั้นคือ  icd10-tm  จะมีรหัสโรคเพิ่มขึ้นและแยกย่อยเพิ่มขึ้นและรหัสผ่าตัดที่มีหลักถึง6-7 หลัก   ส่วน hosxp  นั้น  รหัสโรคได้เป็น  icd10-tm  ไปแล้วตั้งแต่  v.3.50.3.xx  (ไม่แน่ใจ)
แต่  รหัสผ่าตัด/หัตถการใน hosxp ยังคงเป็น   icd9-cm    ข้อสังเกตุ  ในการเบิกจ่ายชดเชยทางการแพทย์ ของ  บัตรทอง   ข้าราชการ ยังใช้  icd10  2006   และ  icd9-cm 2005  อยู่ครับ..... แต่   icd10  กับ  icd10-tm  ก็เหมือนๆกันแต่โรคเพิ่มขึ้นแยกย่อยขึ้น การจะนำข้อมูลรหัสโรคใน  hosxp  ทั้งหมด   มาใช้   เบิกอาจถูกปฎิเสธ/ตีกลับให้แก้ไข ได้ครับ       

   อ่านเพิ่มเติมครับ

ข้อแตกต่างระหว่างระบบรหัส ICD-10-TM กับระบบรหัส ICD-10 เดิม

ระบบรหัส ICD-10-TM เป็นระบบที่เกิดมาจากความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกระทรวงสาธารณสุข คณะแพทยศาสตร์ต่างๆ ราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทาง แพทยสภา และทันตแพทยสภา ในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแก้ไข ระบบรหัส ICD-10 เดิม ให้มีรายการโรคใหม่ๆที่เกิดขึ้นในทศวรรษที่ผ่านมา โดยเฉพาะโรคที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทย ทั้งนี้ การปรับระบบ ICD-10 ให้เป็น ICD-10-TM ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก ทำให้เป็นประเทศไทยเป็นประเทศที่ 4 ของโลกที่มีการปรับระบบ ICD-10 ให้เป็นระบบมาตรฐานของชาติ รองจากประเทศสหรัฐอเมริกา(ICD-10-CM) ออสเตรเลีย(ICD-10-AM) และ แคนาดา(ICD-10-CA)

การปรับระบบครั้งนี้ ทำให้รหัส ICD-10-TM มีปริมาณรหัสโรคมากกว่าระบบเดิมกว่า 5,000 รหัส รวมทั้งโรคที่พบบ่อยๆในประเทศไทยซึ่งแต่เดิมไม่มีรหัสใน ICD-10 ( เช่น Necrotizing fasciitis, Dengue shock syndrome, Premature labour pain ฯลฯ) นอกจากนั้น ยังมีการเปลี่ยนระบบรหัสผ่าตัดให้เป็นมาตรฐานใหม่ของไทย โดยมีรหัสผ่าตัดใหม่ๆเกิดขึ้นมาจากเดิมอีกกว่า 8,000 รหัส ทั้งนี้ รหัสใหม่ๆที่เกิดขึ้นมาเหล่านี้ สามารถนำมาใช้แจกแจงข้อมูลโรคและการผ่าตัดให้ละเอียดขึ้นกว่าเดิม เป็นประโยชน์ให้เกิดการใช้ข้อมูลเพื่อการวิจัย เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ตรงความเป็นจริงมากขึ้น

ในปี พ.ศ. 2547 โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลรัฐอื่นๆและโรงพยาบาลเอกชนทั่วประเทศไทยจะเริ่มทยอยเปลี่ยนระบบรหัสเข้าสู่ระบบของ ICD-10-TM คาดว่า ภายใน สิ้นปี พ.ศ. 2549 กระบวนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรหัสในประเทศไทยจะเสร็จสิ้นสมบูรณ์

 

การเริ่มใช้ระบบ ICD-10-TM ในโรงพยาบาลแต่ละแห่ง ประกอบไปด้วยการเปลี่ยนระบบงาน 3 ระบบดังนี้

ระบบการลงรหัสผู้ป่วย (ICD Coding)
ระบบการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์(ICD codeset in computer system)
ระบบการสรุปเวชระเบียนของแพทย์(Doctor discharge summary)
ทั้งนี้ การเปลี่ยนระบบงานอาจเลือกเปลี่ยนเพียง 2 รายการแรกก่อน หรือ อาจเปลี่ยนระบบทั้งหมดไปพร้อมๆกันก็ได้

1. การเปลี่ยนระบบการลงรหัสผู้ป่วย

ประกอบด้วย ขั้นตอนที่จะต้องปฏิบัติดังนี้

เลือกวันเวลาที่จะเริ่มเปลี่ยนระบบ เช่น กำหนดวันเริ่มต้นเป็นวันที่ 1 มิถุนายน 2547
เตรียมเครื่องมือมาตรฐานในการลงรหัส คือ หนังสือ ICD-10-TM 5 เล่ม(1 ชุด) ให้ครบทุกตำแหน่งที่มีการลงรหัสผู้ป่วย
ใช้รหัส ICD-10-TM ทันที เมื่อต้องลงรหัสผู้ป่วยนอกที่มาตรวจในวันเวลาที่กำหนด เช่นเดียวกับการลงรหัสผู้ป่วยในที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในวันเวลาที่กำหนด
2. การเปลี่ยนระบบการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ *

ประกอบ ด้วยขั้นตอนที่จะต้องปฏิบัติดังนี้

a. การเปลี่ยนตารางรหัส ICD ในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ให้ใช้ฐานข้อมูลรหัสโรค และ

รหัส ผ่าตัด ที่ได้รับจากการลงทะเบียนรับฐานข้อมูลมาใช้แทนตารางรหัสเดิมในระบบ

b. เปลี่ยนหน้าจอโปรแกรมที่ใช้ในการบันทึกรหัสให้สามารถรับรหัสโรคได้ 5 ช่องอักขระ และรับ

ข้อมูลรหัสผ่าตัดได้ 7 ช่องอักขระ

c. การส่งข้อมูลให้หน่วยงานภายนอกที่ต้องการรหัสแบบเก่า ให้ใช้ตารางเทียบรหัสเก่าเป็นหลัก

* ควรให้โปรแกรมเมอร์ หรือ เจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลเป็นผู้ดำเนินการ

3. การปรับระบบการสรุปเวชระเบียนของแพทย์

ประกอบด้วยขั้นตอนที่จะต้องปฏิบัติดังนี้

a. กำหนดวันเวลาที่จะเริ่มเปลี่ยนระบบ

b. เตรียมแบบฟอร์มการสรุป Chart รูปแบบใหม่ โดยเป็นแบบฟอร์มที่กำหนดให้แพทย์ ระบุโรค

และการทำผ่าตัดต่างๆดังนี้

Main condition
Co-morbidity(s)
Complication(s)
Other diagnosis
External cause of injury or poisoning
Main operation/procedure for main condition
Main operation/procedure for co-morbidity or complication
Other operation/procedures
c. ชี้แจงวิธีการกรอกแบบฟอร์ม และการเก็บข้อมูลให้กับแพทย์ทุกคนในองค์กรแพทย์เพื่อปฏิบัติ

d. กำหนดวิธีการตรวจสอบและปรับปรุงระบบข้อมูลจาก Discharge summary

e. กำหนดระบบการกำกับควบคุมคุณภาพ Discharge summary audit และดำเนินการตามวง

2886
อาจจะไม่ตรงประเด็น   icd9  ที่พูดถึงน่าจะเป็น  icd9-cm  ซึ่งเป็น รหัสผ่าตัดและหัตถการ  ส่วนรหัสโรคนั้นจะเป็น  icd10  ซึ่งบางท่านอาจจะสับสน   แล้วยังมี  icd10-tm  ซึ่งมีทั้งรหัสโรคและหัตถการ   ส่วนข้อแตกต่างระหว่าง icd10  กับ  icd10-tm  นั้นคือ  icd10-tm  จะมีรหัสโรคเพิ่มขึ้นและแยกย่อยเพิ่มขึ้นและรหัสผ่าตัดที่มีหลักถึง6-7 หลัก   ส่วน hosxp  นั้น  รหัสโรคได้เป็น  icd10-tm  ไปแล้วตั้งแต่  v.3.50.3.xx  (ไม่แน่ใจ)
แต่  รหัสผ่าตัด/หัตถการใน hosxp ยังคงเป็น   icd9-cm    ข้อสังเกตุ  ในการเบิกจ่ายชดเชยทางการแพทย์ ของ  บัตรทอง   ข้าราชการ ยังใช้  icd10  2006   และ  icd9-cm 2005  อยู่ครับ..... แต่   icd10  กับ  icd10-tm  ก็เหมือนๆกันแต่โรคเพิ่มขึ้นแยกย่อยขึ้น การจะนำข้อมูลรหัสโรคใน  hosxp  ทั้งหมด   มาใช้   เบิกอาจถูกปฎิเสธ/ตีกลับให้แก้ไข ได้ครับ    ;D ;D ;D ;D

   อ่านเพิ่มเติมครับ

ข้อแตกต่างระหว่างระบบรหัส ICD-10-TM กับระบบรหัส ICD-10 เดิม

ระบบรหัส ICD-10-TM เป็นระบบที่เกิดมาจากความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกระทรวงสาธารณสุข คณะแพทยศาสตร์ต่างๆ ราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทาง แพทยสภา และทันตแพทยสภา ในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแก้ไข ระบบรหัส ICD-10 เดิม ให้มีรายการโรคใหม่ๆที่เกิดขึ้นในทศวรรษที่ผ่านมา โดยเฉพาะโรคที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทย ทั้งนี้ การปรับระบบ ICD-10 ให้เป็น ICD-10-TM ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก ทำให้เป็นประเทศไทยเป็นประเทศที่ 4 ของโลกที่มีการปรับระบบ ICD-10 ให้เป็นระบบมาตรฐานของชาติ รองจากประเทศสหรัฐอเมริกา(ICD-10-CM) ออสเตรเลีย(ICD-10-AM) และ แคนาดา(ICD-10-CA)

การปรับระบบครั้งนี้ ทำให้รหัส ICD-10-TM มีปริมาณรหัสโรคมากกว่าระบบเดิมกว่า 5,000 รหัส รวมทั้งโรคที่พบบ่อยๆในประเทศไทยซึ่งแต่เดิมไม่มีรหัสใน ICD-10 ( เช่น Necrotizing fasciitis, Dengue shock syndrome, Premature labour pain ฯลฯ) นอกจากนั้น ยังมีการเปลี่ยนระบบรหัสผ่าตัดให้เป็นมาตรฐานใหม่ของไทย โดยมีรหัสผ่าตัดใหม่ๆเกิดขึ้นมาจากเดิมอีกกว่า 8,000 รหัส ทั้งนี้ รหัสใหม่ๆที่เกิดขึ้นมาเหล่านี้ สามารถนำมาใช้แจกแจงข้อมูลโรคและการผ่าตัดให้ละเอียดขึ้นกว่าเดิม เป็นประโยชน์ให้เกิดการใช้ข้อมูลเพื่อการวิจัย เบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ตรงความเป็นจริงมากขึ้น

ในปี พ.ศ. 2547 โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลรัฐอื่นๆและโรงพยาบาลเอกชนทั่วประเทศไทยจะเริ่มทยอยเปลี่ยนระบบรหัสเข้าสู่ระบบของ ICD-10-TM คาดว่า ภายใน สิ้นปี พ.ศ. 2549 กระบวนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรหัสในประเทศไทยจะเสร็จสิ้นสมบูรณ์

 

การเริ่มใช้ระบบ ICD-10-TM ในโรงพยาบาลแต่ละแห่ง ประกอบไปด้วยการเปลี่ยนระบบงาน 3 ระบบดังนี้

ระบบการลงรหัสผู้ป่วย (ICD Coding)
ระบบการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์(ICD codeset in computer system)
ระบบการสรุปเวชระเบียนของแพทย์(Doctor discharge summary)
ทั้งนี้ การเปลี่ยนระบบงานอาจเลือกเปลี่ยนเพียง 2 รายการแรกก่อน หรือ อาจเปลี่ยนระบบทั้งหมดไปพร้อมๆกันก็ได้

1. การเปลี่ยนระบบการลงรหัสผู้ป่วย

ประกอบด้วย ขั้นตอนที่จะต้องปฏิบัติดังนี้

เลือกวันเวลาที่จะเริ่มเปลี่ยนระบบ เช่น กำหนดวันเริ่มต้นเป็นวันที่ 1 มิถุนายน 2547
เตรียมเครื่องมือมาตรฐานในการลงรหัส คือ หนังสือ ICD-10-TM 5 เล่ม(1 ชุด) ให้ครบทุกตำแหน่งที่มีการลงรหัสผู้ป่วย
ใช้รหัส ICD-10-TM ทันที เมื่อต้องลงรหัสผู้ป่วยนอกที่มาตรวจในวันเวลาที่กำหนด เช่นเดียวกับการลงรหัสผู้ป่วยในที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในวันเวลาที่กำหนด
2. การเปลี่ยนระบบการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ *

ประกอบ ด้วยขั้นตอนที่จะต้องปฏิบัติดังนี้

a. การเปลี่ยนตารางรหัส ICD ในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ให้ใช้ฐานข้อมูลรหัสโรค และ

รหัส ผ่าตัด ที่ได้รับจากการลงทะเบียนรับฐานข้อมูลมาใช้แทนตารางรหัสเดิมในระบบ

b. เปลี่ยนหน้าจอโปรแกรมที่ใช้ในการบันทึกรหัสให้สามารถรับรหัสโรคได้ 5 ช่องอักขระ และรับ

ข้อมูลรหัสผ่าตัดได้ 7 ช่องอักขระ

c. การส่งข้อมูลให้หน่วยงานภายนอกที่ต้องการรหัสแบบเก่า ให้ใช้ตารางเทียบรหัสเก่าเป็นหลัก

* ควรให้โปรแกรมเมอร์ หรือ เจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลเป็นผู้ดำเนินการ

3. การปรับระบบการสรุปเวชระเบียนของแพทย์

ประกอบด้วยขั้นตอนที่จะต้องปฏิบัติดังนี้

a. กำหนดวันเวลาที่จะเริ่มเปลี่ยนระบบ

b. เตรียมแบบฟอร์มการสรุป Chart รูปแบบใหม่ โดยเป็นแบบฟอร์มที่กำหนดให้แพทย์ ระบุโรค

และการทำผ่าตัดต่างๆดังนี้

Main condition
Co-morbidity(s)
Complication(s)
Other diagnosis
External cause of injury or poisoning
Main operation/procedure for main condition
Main operation/procedure for co-morbidity or complication
Other operation/procedures
c. ชี้แจงวิธีการกรอกแบบฟอร์ม และการเก็บข้อมูลให้กับแพทย์ทุกคนในองค์กรแพทย์เพื่อปฏิบัติ

d. กำหนดวิธีการตรวจสอบและปรับปรุงระบบข้อมูลจาก Discharge summary

e. กำหนดระบบการกำกับควบคุมคุณภาพ Discharge summary audit และดำเนินการตามวง

2887
ยินดีต้อนรับ / เกี่ยวกับตาราง log ต่างๆ
« เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 17:44:29 PM »
สามารถลบ  ตาราง log  ต่างๆ   ได้ไหมครับจะได้ลดพื้นที่การจัดเก็บ   เช่น  ksklog  , report_access_log
เพราะตอนนี้ยังไม่ได้ใช้ตรวจสอบครับ....ขอบพระคุณครับ


2888
อ.อ๊อด    แล้วทำอย่างไรต่อครับ

2889
ยินดีต้อนรับ / MySQL5.1.22 New!!!
« เมื่อ: ตุลาคม 14, 2007, 08:40:57 AM »
MySQL5.1.22 New!!!   ออกใหม่พร้อมทดสอบใช้แล้วครับ  www.mysql.com

2890
อ.อ๊อด   แนะนำให้ชัดเจนด้วยครับ   ตอนนี้กำลัง ทดสอบ v3.50.10.6-11  .....ขอบพระคุณมากๆครับ


2891
Development / Re: HOSxP 3.50.10.6
« เมื่อ: ตุลาคม 06, 2007, 23:04:41 PM »
ผมเข้าใจผิดเอง  สิทธิ์หลักที่การเงินถูกแล้วครับ   แต่สิทธิ์ป้จจุบันทำไมเป็นตัวอื่น   ทั้งที่ไม่มีสิทธิ์นี้    และที่ ward  พอ คลิกขวาที่  ผป.   แสดงการรับผป. ipd   สิทธิ์รักษาเป็นอีกสิทธิ์อื่นที่ไม่ถูกต้อง  และสิทธิ์นี้ก็จะไปแสดงที่  หน้าการเงิน  ตรงสิทธิ์ปัจจุบันด้วยครับ   

2892
Development / Re: HOSxP 3.50.10.6
« เมื่อ: ตุลาคม 06, 2007, 22:40:42 PM »
ผมทดลอง hosxp3.50.10.6   แล้ว    สิทธิ์ ผป.ใน  ที่หน้าจอการเงินไม่ตรงกับสิทธิ์จริงที่มี...มีท่านใดเป็นบ้างครับ

2893
ผมก็ใช้   IBM  ครับ    แต่ลง    linux  CentOS4.5      ไม่มีปัญหาเรื่องนี้ครับ     

2894
รูปนี้ใช้   webmin   ตรวจดูครับ

2895
ตอนนี้  ใช้  CentOS4.5-x86_64     ครับ  ใส่ ram  5 GB   ก็เห็นหมดนะครับตามรูป


2896
MySQL / Re: HOSxP Cluster control center
« เมื่อ: กันยายน 30, 2007, 22:58:19 PM »
มีที่ไหนนำไปใช้จริงแล้วครับ     ผลเป็นยังไงครับ....ขอบพระคุณครับ

2897
สิทธิ์การรักษา  ผป.ใน     ในที่ ward  กับที่  การเงิน  ไม่ตรงกันครับ

2898
กำหนดสิทธิการเข้าถึงคือ
แพทย์      เข้าระบบ  doctor
พยาบาล  เข้าระบบ screen          .... ครับ


2899
ปัญหาก็คือ  การให้รหัสโรคที่  hosxp  เลย  โดยไม่ได้เปิดหนังสือ  icd-10    พอส่งข้อมูล อาจโดน ตีกลับ
เพราะกองทุนต่างๆยังใช้   icd-10  อยู่ครับ  มีวิธีอย่างไรครับที่จะตัด  icd-10- tm  ออกจากระบบ  icd  ใน  hosxp   เลย     . ??? ??? ??? ??? ??? ??? ???

 

2900
MySQL / Re: ขอความช่วยเหลือ ลง MYSQL5.0 ใน CENOS 5 ไม่ผ่าน
« เมื่อ: กันยายน 22, 2007, 10:34:37 AM »
ตาม อ.อ๊อดครับ   หรือไม่ก็ปิดแค่  SElinux    ส่วน firewall  เปิดไว้ก็ได้ แต่ต้องเพิ่ม port  3306  ซึ่งเป็น port  ของ  MySQL
   

หน้า: 1 ... 56 57 [58] 59 60 ... 63