BMS-HOSxP Community
HOSxP => แจ้งปัญหา / ขอความช่วยเหลือ => ข้อความที่เริ่มโดย: Bluebird ที่ ตุลาคม 05, 2009, 10:48:38 AM
-
ปัญหาคนไข้ที่มา 2 ครั้งในวันเดียวกัน
ปัญหามีอยู่ว่า แพทย์เข้าระบบห้องทำงานแพทย์ กด HN ขึ้นมา จะชื่อคนไข้ปรากฏอยู่ 2 บรรทัด แต่เผอิญแพทย์ไปเลือก ตอนที่เขามาครั้งแรก ซึ่งตอนที่เขามาครั้งแรกนี้ ตรวจอะไรทุกอย่างเสร็จหมดแล้ว
ทำให้ ประวัติที่เขามาครั้งที่ 2 ไม่มี
จะมีวิธีป้องกันการเลือกคนไข้กรณีแบบนี้ไหมครับ
-
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
-
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
-
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
แล้วข้อมูลที่ลงไปแล้วไม่หายไปด้วยหรอครับ?(น่าจะเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง)
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
แต่จะมีปัญหากับคนไข้ที่เป็นสิทธิฟรีหรือเบิกได้เพราะคนไข้กลุ่มนี้จะไม่ได้ไปจ่ายตังษ์ตรงนี้ต้องทำไงครับ อ.MN ;D
-
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
แล้วข้อมูลที่ลงไปแล้วไม่หายไปด้วยหรอครับ?(น่าจะเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง)
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
แต่จะมีปัญหากับคนไข้ที่เป็นสิทธิฟรีหรือเบิกได้เพราะคนไข้กลุ่มนี้จะไม่ได้ไปจ่ายตังษ์ตรงนี้ต้องทำไงครับ อ.MN ;D
- เข้าใจครับ เป็นการตัดปัญหา ในจุดซักประวัติ หน้าห้องตรวจ จะโชว์ขึ้นมาทันที ไม่ว่าจะมีกี่ visit
ให้แก้ปัญหาโดยการลบ visit ที่ไม่ต้องการ ก่อนลงข้อมูลการคัดกรอง และส่งเข้าห้องตรวจ
-
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
แล้วข้อมูลที่ลงไปแล้วไม่หายไปด้วยหรอครับ?(น่าจะเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง)
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
แต่จะมีปัญหากับคนไข้ที่เป็นสิทธิฟรีหรือเบิกได้เพราะคนไข้กลุ่มนี้จะไม่ได้ไปจ่ายตังษ์ตรงนี้ต้องทำไงครับ อ.MN ;D
- เข้าใจครับ เป็นการตัดปัญหา ในจุดซักประวัติ หน้าห้องตรวจ จะโชว์ขึ้นมาทันที ไม่ว่าจะมีกี่ visit
ให้แก้ปัญหาโดยการลบ visit ที่ไม่ต้องการ ก่อนลงข้อมูลการคัดกรอง และส่งเข้าห้องตรวจ
ปัญหายังไม่จบอิอิ
1. กรณีปิดใบสั่งยา > ยังปิดไม่ได้เนื่องจากทั้ง 2 visit ยังไม่เสร็จสิ้นการตรวจ
2. กรณีลบ > ยังปิดไม่ได้เนื่องจากทั้ง 2 visit ยังไม่เสร็จสิ้นการตรวจเช่นเดียวกัน
แต่ก่อนแก้ปัญหา ให้ส่งแค่ 1 visit
นายสั่งมา ให้ส่ง 2 visit เนื่องจาก คนละแผนกกัน มี งานส่งเสริม ทันตกรรม และห้องตรวจ บ้านไกลมาทีเดียวเหมาหมด
-
ถือว่าแชร์ประสบการณ์แล้วกันนะคับ เพราะก็เจอปัญหาคล้าย ๆ กัน
-กรณีมี 2 visit ถ้าใช้ระบบ QN เข้ามาช่วยจะทำให้ดูง่ายหรือเปล่าคับ ตอนนี้ที่ รพ.เลิกค้นประวัติ ก็มาใช้พิมพ์บัตรคิวแทน ซึ่งปรับปรุงรูปแบบจากที่ทางอาจารย์ทำไว้ ถ้าใช้ตรงนี้เลข QN จะบอกเราได้ดีทีเดียวคับว่า เราจะเลือก QN ที่เท่าไหร่มาลงข้อมูล สังเกตที่ห้องตรวจแพทย์สิคับจะมี QN ด้วย แนะนำอีกเรื่องคับการเรียก HN เองบางครั้งจะพลาดได้คับ ที่ รพ.จะเน้นให้มีการส่งต่อที่ถูกต้องไปตามระบบ ถ้าส่งไม่ได้ต้องแจ้ง เพราะจะทำให้เราดูข้อมูลการส่งต่อได้ด้วยไม่สะเปะสะปะ ทำให้รู้ว่าคนไข้ส่งถูกต้องหรือไม่ ไปไหนบ้าง เคยเจอมาแล้วคับหมอเลือกผิด ตามไปตามมาปรากฎว่าไม่ได้ผิดที่หมอ ผิดที่คนส่งให้หมอดันส่งผิด visit ไปเอง ก็แจ้งกันไปให้ทราบตามระเบียบ แต่ตอนนี้พอเลิกค้นประวัติก็ตื่นตัวกันมาก ระมัดระวังกันมากขึ้นเลยทีเดียวคับ
-ปกติที่หน้าจอส่งตรวจ ถ้าคนไข้มาก่อนแล้ว ก็จะมีให้เราเลือกว่า จะแก้ไขรายการเก่า หรือ เพิ่ม visit ทั้งนี้การจะแก้ไขหรือเพิ่ม สำคัญมากตรงค่าบริการทางการแพทย์ที่คนไข้ต้องจ่าย เราจะเก็บอย่างไร จะได้ไม่เป็นปัญหาภายหลังว่า ตรงนี้ควรต้องส่งต่อกันไป เพราะคนไข้จะเสียค่าบริการทางการแพทย์หลายครั้งไม่ได้ หรือตรงส่วนนี้ต้องตัดจบกลับบ้านก่อน แล้วจึงจะ visit ใหม่ เพราะค่าบริการทางการแพทย์แยกส่วนกันหรือเปล่า สำคัญมากนะคับค่าบริการทางการแพทย์ คนไข้บางคนอาจจะมีความละเอียดกับการเช็คค่าบริการ ส่วนเราเองก็ไม่ได้ตั้งใจหรอก แต่เกิดเราไม่รู้ขึ้นมาเราแย่
;D
-
ถือว่าแชร์ประสบการณ์แล้วกันนะคับ เพราะก็เจอปัญหาคล้าย ๆ กัน
-กรณีมี 2 visit ถ้าใช้ระบบ QN เข้ามาช่วยจะทำให้ดูง่ายหรือเปล่าคับ ตอนนี้ที่ รพ.เลิกค้นประวัติ ก็มาใช้พิมพ์บัตรคิวแทน ซึ่งปรับปรุงรูปแบบจากที่ทางอาจารย์ทำไว้ ถ้าใช้ตรงนี้เลข QN จะบอกเราได้ดีทีเดียวคับว่า เราจะเลือก QN ที่เท่าไหร่มาลงข้อมูล สังเกตที่ห้องตรวจแพทย์สิคับจะมี QN ด้วย แนะนำอีกเรื่องคับการเรียก HN เองบางครั้งจะพลาดได้คับ ที่ รพ.จะเน้นให้มีการส่งต่อที่ถูกต้องไปตามระบบ ถ้าส่งไม่ได้ต้องแจ้ง เพราะจะทำให้เราดูข้อมูลการส่งต่อได้ด้วยไม่สะเปะสะปะ ทำให้รู้ว่าคนไข้ส่งถูกต้องหรือไม่ ไปไหนบ้าง เคยเจอมาแล้วคับหมอเลือกผิด ตามไปตามมาปรากฎว่าไม่ได้ผิดที่หมอ ผิดที่คนส่งให้หมอดันส่งผิด visit ไปเอง ก็แจ้งกันไปให้ทราบตามระเบียบ แต่ตอนนี้พอเลิกค้นประวัติก็ตื่นตัวกันมาก ระมัดระวังกันมากขึ้นเลยทีเดียวคับ
-ปกติที่หน้าจอส่งตรวจ ถ้าคนไข้มาก่อนแล้ว ก็จะมีให้เราเลือกว่า จะแก้ไขรายการเก่า หรือ เพิ่ม visit ทั้งนี้การจะแก้ไขหรือเพิ่ม สำคัญมากตรงค่าบริการทางการแพทย์ที่คนไข้ต้องจ่าย เราจะเก็บอย่างไร จะได้ไม่เป็นปัญหาภายหลังว่า ตรงนี้ควรต้องส่งต่อกันไป เพราะคนไข้จะเสียค่าบริการทางการแพทย์หลายครั้งไม่ได้ หรือตรงส่วนนี้ต้องตัดจบกลับบ้านก่อน แล้วจึงจะ visit ใหม่ เพราะค่าบริการทางการแพทย์แยกส่วนกันหรือเปล่า สำคัญมากนะคับค่าบริการทางการแพทย์ คนไข้บางคนอาจจะมีความละเอียดกับการเช็คค่าบริการ ส่วนเราเองก็ไม่ได้ตั้งใจหรอก แต่เกิดเราไม่รู้ขึ้นมาเราแย่
;D
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
นี้คือการแก้ปัญหาที่ดีครับ
และอีกวิธีก็ใช้ใบคิวที่ออกจากโปรแกรมครับ
-
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
นี้คือการแก้ปัญหาที่ดีครับ
และอีกวิธีก็ใช้ใบคิวที่ออกจากโปรแกรมครับ
[/quote]
แต่เราสามารถไปกำหนดค่าบริการทางการแพทย์ทั่วไป ในเวลาและนอกเวลา ให้คิดแค่ครั้งเดียวต่อวันได้นี่น่า....เอหรือว่าไม่ได้แล้วครับ.....
-
การแก้ปัญหาแต่ล่ะที่อาจไม่เหมือนกัน เพราะขั้นตอนการทำงานอาจแตกต่างกันบ้างในบางขั้นตอน หรือเป็นที่ขั้นตอนในการรับยาผู้ป่วยเอง เช่น
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
อันนี้จะแก้ไขปัญหาไม่ได้เลย ถ้าคนไข้จะรอตรวจให้เสร็จทุกแผนกก่อน แล้วค่อยไปรับยาทีเดียวเลย ยกเว้น visit แรกมาตอนเช้า visit ที่ 2 มาตอนบ่าย
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
ส่วนอันนี้ จะมีผลในการทำสถิติ ถ้าใช้ visit เดียว แล้วตรวจได้ทุกแผนก จะทำให้สถิติจะไปอยู่ที่แผนกสุดท้ายที่ตรวจ
ผมขอแชร์ประสบการณ์ที่ รพ. ทำอยู่ละกันครับ (เพิ่งตกลงกันเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อไม่นานมานี้เอง)
1. visit ที่ 2,3,4 ตกลงกันไว้ก่อนว่าจะมีแนวทางอย่างไร
- ถ้าแค่ consult ไม่ต้องออก visit ใหม่
- ตรวจคนละแผนกต้องออก visit ที่ 2, 3, 4
- ส่วนว่าจะต้องกลับไปที่เวชระเบียนให้ออก visit ให้ใหม่ หรือจะให้แผนกล่าสุดเป็นคนออกให้ ก็แล้วแต่ รพ. ถ้าให้ออกให้เลย ณ จุดล่าสุด ก็ต้องเปิดสิทธิให้ จนท. อีก แต่ที่ รพ.ให้กลับไปที่เวชระเบียน โดย แผนกล่าสุดมีจดหมายน้อยไปให้เวชระเบียน ว่าคนไข้แสดงความจำนงจะตรวจที่แผนกไหนต่ออีก ถ้ามี visit ที่ 3, 4 ก็ทำเช่นเดียวกัน จะไม่มีปัญหาเรื่อง สถิติด้วย
2. ที่ห้องตรวจแพทย์จะไม่สับสนกับเรื่อง visit เนื่องจากเรามีใบสั่งยาไปให้แพทย์ด้วยและแพทย์ทุกท่านใช้ QN ในการเลือกผู้ป่วย เพราะ (บาง รพ. ใช้บัตรคิว)
- กดตัวเลขน้อยกว่า HN
- ไม่สับสนเรื่อง visit
3. เรื่องค่าบริการผู้ป่วย จะคิดครั้งแรก ครั้งเดียว
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
แต่เราสามารถไปกำหนดค่าบริการทางการแพทย์ทั่วไป ในเวลาและนอกเวลา ให้คิดแค่ครั้งเดียวต่อวันได้นี่น่า....เอหรือว่าไม่ได้แล้วครับ.....
เพื่อยืนยัน ตามรูป
-
การแก้ปัญหาแต่ล่ะที่อาจไม่เหมือนกัน เพราะขั้นตอนการทำงานอาจแตกต่างกันบ้างในบางขั้นตอน หรือเป็นที่ขั้นตอนในการรับยาผู้ป่วยเอง เช่น
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
อันนี้จะแก้ไขปัญหาไม่ได้เลย ถ้าคนไข้จะรอตรวจให้เสร็จทุกแผนกก่อน แล้วค่อยไปรับยาทีเดียวเลย ยกเว้น visit แรกมาตอนเช้า visit ที่ 2 มาตอนบ่าย
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
ส่วนอันนี้ จะมีผลในการทำสถิติ ถ้าใช้ visit เดียว แล้วตรวจได้ทุกแผนก จะทำให้สถิติจะไปอยู่ที่แผนกสุดท้ายที่ตรวจ
ผมขอแชร์ประสบการณ์ที่ รพ. ทำอยู่ละกันครับ (เพิ่งตกลงกันเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อไม่นานมานี้เอง)
1. visit ที่ 2,3,4 ตกลงกันไว้ก่อนว่าจะมีแนวทางอย่างไร
- ถ้าแค่ consult ไม่ต้องออก visit ใหม่
- ตรวจคนละแผนกต้องออก visit ที่ 2, 3, 4
- ส่วนว่าจะต้องกลับไปที่เวชระเบียนให้ออก visit ให้ใหม่ หรือจะให้แผนกล่าสุดเป็นคนออกให้ ก็แล้วแต่ รพ. ถ้าให้ออกให้เลย ณ จุดล่าสุด ก็ต้องเปิดสิทธิให้ จนท. อีก แต่ที่ รพ.ให้กลับไปที่เวชระเบียน โดย แผนกล่าสุดมีจดหมายน้อยไปให้เวชระเบียน ว่าคนไข้แสดงความจำนงจะตรวจที่แผนกไหนต่ออีก ถ้ามี visit ที่ 3, 4 ก็ทำเช่นเดียวกัน จะไม่มีปัญหาเรื่อง สถิติด้วย
2. ที่ห้องตรวจแพทย์จะไม่สับสนกับเรื่อง visit เนื่องจากเรามีใบสั่งยาไปให้แพทย์ด้วยและแพทย์ทุกท่านใช้ QN ในการเลือกผู้ป่วย เพราะ (บาง รพ. ใช้บัตรคิว)
- กดตัวเลขน้อยกว่า HN
- ไม่สับสนเรื่อง visit
3. เรื่องค่าบริการผู้ป่วย จะคิดครั้งแรก ครั้งเดียว
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
แต่เราสามารถไปกำหนดค่าบริการทางการแพทย์ทั่วไป ในเวลาและนอกเวลา ให้คิดแค่ครั้งเดียวต่อวันได้นี่น่า....เอหรือว่าไม่ได้แล้วครับ.....
เพื่อยืนยัน ตามรูป
เห็นด้วยกับแนวทางนี้ครับ
-
ขอเสนอแนวคิดด้วยคนครับ ของผมอ่ะเจอเยอะคับ แต่ผมใช้ลักษณะนี้ครับ
กรณีคนไข้มา 2 visit และคนละแผนกผมจะให้คนไข้ไปแผนกแรกก่อนตรวจรักษาเสร็จและไปรับยาจากนั้นก็ให้ไปที่ห้องบัตรอีกครั้งเพื่อส่งไปแผนกที่ 2 หรือไม่ก็ให้คนไข้ไปที่แผนกที่ 2 เลยและให้เจ้าหน้าที่โทรมาที่ห้องบัตร ของผมใช้ลักษณะนี้ครับก้อลดไปได้เยอะ แต่น่าจะเหมาะกับ รพ.ชุมชน ขนาด 30 เตียง
-
การแก้ปัญหาแต่ล่ะที่อาจไม่เหมือนกัน เพราะขั้นตอนการทำงานอาจแตกต่างกันบ้างในบางขั้นตอน หรือเป็นที่ขั้นตอนในการรับยาผู้ป่วยเอง เช่น
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
อันนี้จะแก้ไขปัญหาไม่ได้เลย ถ้าคนไข้จะรอตรวจให้เสร็จทุกแผนกก่อน แล้วค่อยไปรับยาทีเดียวเลย ยกเว้น visit แรกมาตอนเช้า visit ที่ 2 มาตอนบ่าย
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
ส่วนอันนี้ จะมีผลในการทำสถิติ ถ้าใช้ visit เดียว แล้วตรวจได้ทุกแผนก จะทำให้สถิติจะไปอยู่ที่แผนกสุดท้ายที่ตรวจ
เป็นแนวทางที่ดีครับ
ผมขอแชร์ประสบการณ์ที่ รพ. ทำอยู่ละกันครับ (เพิ่งตกลงกันเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อไม่นานมานี้เอง)
1. visit ที่ 2,3,4 ตกลงกันไว้ก่อนว่าจะมีแนวทางอย่างไร
- ถ้าแค่ consult ไม่ต้องออก visit ใหม่
- ตรวจคนละแผนกต้องออก visit ที่ 2, 3, 4
- ส่วนว่าจะต้องกลับไปที่เวชระเบียนให้ออก visit ให้ใหม่ หรือจะให้แผนกล่าสุดเป็นคนออกให้ ก็แล้วแต่ รพ. ถ้าให้ออกให้เลย ณ จุดล่าสุด ก็ต้องเปิดสิทธิให้ จนท. อีก แต่ที่ รพ.ให้กลับไปที่เวชระเบียน โดย แผนกล่าสุดมีจดหมายน้อยไปให้เวชระเบียน ว่าคนไข้แสดงความจำนงจะตรวจที่แผนกไหนต่ออีก ถ้ามี visit ที่ 3, 4 ก็ทำเช่นเดียวกัน จะไม่มีปัญหาเรื่อง สถิติด้วย
2. ที่ห้องตรวจแพทย์จะไม่สับสนกับเรื่อง visit เนื่องจากเรามีใบสั่งยาไปให้แพทย์ด้วยและแพทย์ทุกท่านใช้ QN ในการเลือกผู้ป่วย เพราะ (บาง รพ. ใช้บัตรคิว)
- กดตัวเลขน้อยกว่า HN
- ไม่สับสนเรื่อง visit
3. เรื่องค่าบริการผู้ป่วย จะคิดครั้งแรก ครั้งเดียว
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
แต่เราสามารถไปกำหนดค่าบริการทางการแพทย์ทั่วไป ในเวลาและนอกเวลา ให้คิดแค่ครั้งเดียวต่อวันได้นี่น่า....เอหรือว่าไม่ได้แล้วครับ.....
เพื่อยืนยัน ตามรูป
-
การแก้ปัญหาแต่ล่ะที่อาจไม่เหมือนกัน เพราะขั้นตอนการทำงานอาจแตกต่างกันบ้างในบางขั้นตอน หรือเป็นที่ขั้นตอนในการรับยาผู้ป่วยเอง เช่น
ให้ห้องจ่ายยาทำการปิดใบสั่งยาทุกใบที่จ่ายยาไปแล้วครับ จะทำให้แพทย์เลือกรายการที่ห้องจ่ายยาทำรายการไปแล้วมาแก้ไขไม่ได้
อันนี้จะแก้ไขปัญหาไม่ได้เลย ถ้าคนไข้จะรอตรวจให้เสร็จทุกแผนกก่อน แล้วค่อยไปรับยาทีเดียวเลย ยกเว้น visit แรกมาตอนเช้า visit ที่ 2 มาตอนบ่าย
ในหน้า ลงทะเบียนการรักษา เรียกคนไข้ เลือกแก้ไข แล้วลบ ออก 1 visit
ส่วนอันนี้ จะมีผลในการทำสถิติ ถ้าใช้ visit เดียว แล้วตรวจได้ทุกแผนก จะทำให้สถิติจะไปอยู่ที่แผนกสุดท้ายที่ตรวจ
ผมขอแชร์ประสบการณ์ที่ รพ. ทำอยู่ละกันครับ (เพิ่งตกลงกันเป็นเรื่องเป็นราว เมื่อไม่นานมานี้เอง)
1. visit ที่ 2,3,4 ตกลงกันไว้ก่อนว่าจะมีแนวทางอย่างไร
- ถ้าแค่ consult ไม่ต้องออก visit ใหม่
- ตรวจคนละแผนกต้องออก visit ที่ 2, 3, 4
- ส่วนว่าจะต้องกลับไปที่เวชระเบียนให้ออก visit ให้ใหม่ หรือจะให้แผนกล่าสุดเป็นคนออกให้ ก็แล้วแต่ รพ. ถ้าให้ออกให้เลย ณ จุดล่าสุด ก็ต้องเปิดสิทธิให้ จนท. อีก แต่ที่ รพ.ให้กลับไปที่เวชระเบียน โดย แผนกล่าสุดมีจดหมายน้อยไปให้เวชระเบียน ว่าคนไข้แสดงความจำนงจะตรวจที่แผนกไหนต่ออีก ถ้ามี visit ที่ 3, 4 ก็ทำเช่นเดียวกัน จะไม่มีปัญหาเรื่อง สถิติด้วย
2. ที่ห้องตรวจแพทย์จะไม่สับสนกับเรื่อง visit เนื่องจากเรามีใบสั่งยาไปให้แพทย์ด้วยและแพทย์ทุกท่านใช้ QN ในการเลือกผู้ป่วย เพราะ (บาง รพ. ใช้บัตรคิว)
- กดตัวเลขน้อยกว่า HN
- ไม่สับสนเรื่อง visit
3. เรื่องค่าบริการผู้ป่วย จะคิดครั้งแรก ครั้งเดียว
ค่าบริการทางการแพทย์ 1 วันให้คิดเพียงครั้งเดียวนะครับ
ควรทำความเข้าใจให้ดูจากหลักเกณฑ์ ของ สปสช.และ กรมบัญชีกลาง
แต่เราสามารถไปกำหนดค่าบริการทางการแพทย์ทั่วไป ในเวลาและนอกเวลา ให้คิดแค่ครั้งเดียวต่อวันได้นี่น่า....เอหรือว่าไม่ได้แล้วครับ.....
เพื่อยืนยัน ตามรูป
เห็นด้วยครับและขอฟอร์มบัตรคิวของ อ.เข้ม ด้วยครับเจ๋งดี ;D
-
ทำไมผมติ๊กที่สิทธิ ตัวเลือก คิดแค่ครั้งเดียวในวันเดียวกัน (auto df) และในรายการค่ารักษาพยาบาลก็ติ๊กว่าสั่งใช้แค่รายการเดียว ก็ยังขึ้นตาม visit ที่ส่งตรวจ ผมต้องไป set ตรงไหนเพิ่มหรือเปล่าครับ
-
ทำไมผมติ๊กที่สิทธิ ตัวเลือก คิดแค่ครั้งเดียวในวันเดียวกัน (auto df) และในรายการค่ารักษาพยาบาลก็ติ๊กว่าสั่งใช้แค่รายการเดียว ก็ยังขึ้นตาม visit ที่ส่งตรวจ ผมต้องไป set ตรงไหนเพิ่มหรือเปล่าครับ
ตอนปิด visit ระบบ clear ค่าใช้จ่ายให้อัตโนมัติไหมครับ..ต้องลองดูจนจบ visit ครับ..
-
ตรวขสอบถึงขั้นตอนการจ่ายเงินแล้ว ครับ ก็ยังมีรายการเรียกเก็บค่ารักษา 2 ครั้ง
-
ทำไมผมติ๊กที่สิทธิ ตัวเลือก คิดแค่ครั้งเดียวในวันเดียวกัน (auto df) และในรายการค่ารักษาพยาบาลก็ติ๊กว่าสั่งใช้แค่รายการเดียว ก็ยังขึ้นตาม visit ที่ส่งตรวจ ผมต้องไป set ตรงไหนเพิ่มหรือเปล่าครับ
ต้องไปตั้งค่าใน systen setting ด้วยครับ..รายการค่าบริการอัตโนมัติ ในเวลา-นอกเวลา ให้ได้ icode ของค่ารักษารายการเดียวกันกับที่ระบุในตัวเลือกของสิืทธิการรักษาครับ....มิใช่ตั้งในบัญชีค่ารักษาพยาบาล กำหนดใน sys_var=system setting ครับ
-
ทำไมผมติ๊กที่สิทธิ ตัวเลือก คิดแค่ครั้งเดียวในวันเดียวกัน (auto df) และในรายการค่ารักษาพยาบาลก็ติ๊กว่าสั่งใช้แค่รายการเดียว ก็ยังขึ้นตาม visit ที่ส่งตรวจ ผมต้องไป set ตรงไหนเพิ่มหรือเปล่าครับ
ต้องไปตั้งค่าใน systen setting ด้วยครับ..รายการค่าบริการอัตโนมัติ ในเวลา-นอกเวลา ให้ได้ icode ของค่ารักษารายการเดียวกันกับที่ระบุในตัวเลือกของสิืทธิการรักษาครับ....มิใช่ตั้งในบัญชีค่ารักษาพยาบาล กำหนดใน sys_var=system setting ครับ
ผมผูกค่าบริการ doctor fee ใน system setting ให้ icode ตรงกับรายการค่าบริการ ผู้ป่วยในเวลาราชการแล้วครับ ส่วนนอกเวลาก็ผูกแล้วเหมือนกัน ไม่ทราบว่าต้องไปตั้งที่ไหนอีกครับ
ขอบคุณนะครับคุณเกื้อกูล