ผู้เขียน หัวข้อ: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา  (อ่าน 7118 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ วีระวัฒน์ (เอก)

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,368
  • ให้ก้าวไปข้างหน้าก่อนผู้อืนอย่างน้อย 1 ก้าวเสมอ
  • Respect: +7
    • ดูรายละเอียด
0
1.ส่งรายงาน 12 แฟ้ม เข้า NHSO ส่งไม่ได้ V 2.49.8.8  ร.พ แม่แตง

2.ใน ฟอร์ม papar Sammary ดึงสิทธิการรักษา เข้ามาด้วยนะจะดีนะครับ เอาแบบของ
Custum-sammary 0.3 

3.ผู้ป่วยที่ค้างชำระ ต้องการตรวจสอบยอดที่ค้างชำระเท่านั้น แต่ยังไม่จ่ายเงิน ดูได้ที่ใหน

4.โรคเรื้อรังเบิกได้ ตอนนี้พบปัญหาว่า มีคนเข้ามาแก้ หรือพิมพ์เล่นๆ ในช่อง เลขที่โรคเรื้อรังทำให้เลขที่โรคเรื้อรังผิดไป หรือ ผู้ป่วยไม่มีสิทธินี้ แต่มีเจ้าหน้าที่ไปเพิ่มเลขที่โรคเรื้อรัง ให้เวลาออกรายงานก็จะนำผู้ป่วยรายนี้มาคำนวณด้วย  อยากให้มีการกำหนดสิทธิผู้ใช้ในจุดนี้ด้วย

5.การเข้าถึงข้อมูล ระดับ 1-10 ของผู้มีสิทธิใช้ระบบ แต่ละระดับหมายความว่าอย่างไรครับ
   ระดับที่ 0 หมายถึง...................
   ระดับที่ 1 หมายถึง...................

6.ระดับการสั่งจ่ายยา  1-10.... แต่ละระดับ หมายความว่าอย่างไรครับ  เช่น
   ระดับที่ 0 หมายถึง...................
   ระดับที่ 1 หมายถึง...................

7. การเงินแก้ไขข้อมูลการเงินเองได้  กลัวว่าข้อมูลไม่ตรงกัน

8. เลือก IPD ->drug profile   เลือกกับไม่เลือกต่างกันอย่างไรครับ

9. สิทธิมาตรฐาน UA,UB  ไม่ทราบมาจากใหนครับ ในฐานข้อมูลตอนลงโปรแกรมจะมีมาให้ด้วย
                          Admin ร.พ แม่แตงฝากถามมาครับ  /ขอคุณมากครับ
รพ.จอมทอง เชียงใหม่ ขนาด 120 เตียง  เริ่มใช้ HOSxP 1 ต.ค 2557 ขึ้นระบบโดย BMS
วีระวัฒน์ ใจอินผล  081-9609614 AIS  Email weerawatjaiinpol@gmail.com  Facebook วีระวัฒน์ ใจอินผล
Server: Xeon 4 core 2.27 GHz, CentOS 7.1 , RAM : 32 GB , HD SAS :300 GBx4 R5, MySQL MariaDB 10.0.20 64 bit

doramon

  • บุคคลทั่วไป
Re: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: สิงหาคม 28, 2006, 01:40:46 AM »
0
มากจังเลยไม่รู้ว่าจะตอบอะไรก่อนดี

1. ไม่เข้าใจว่าส่งไปไม่ได้แบบไหนครับ

ออฟไลน์ navyNP

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 933
  • Respect: +3
    • ดูรายละเอียด
Re: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: สิงหาคม 28, 2006, 19:08:54 PM »
0
ช่วยตอบให้เป็นบางข้อนะครับ
4.เป็น people ware error ครับ ปกติจะกำหนดในสิทธิ์ของแต่ละคนอยู่แล้วนี่ครับว่าจะให้ใครเข้าไปแก้ไขได้บ้าง(เฉพาะในส่วนส่งตรวจ และแก้ไขเวชระเบียน เท่านั้นที่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมได้)
6.เป็นการกำหนดสิทธิในการสั่งยาของแต่ละบุคคล เช่นพยาบาลสั่งได้ถึงระดับไหน แพทย์ได้ระดับไหน ทันตแพทย์ได้ระดับไหน ซึ่งสัมพันธ์กับยาบางตัวที่จะสงวนไว้ให้สำหรับแพทย์เท่านั้นที่จะสั่งได้เราถึงไปกำหนดระดับในการสั่งยาตัวนั้นใน drugitems ครับ แต่จะกำหนดเท่าไหร่ดีมีมาตรฐานกำหนดไว้ไหม อันนี้ไม่ทราบจริงๆ ครับ
7.สามารถกำหนดได้ครับ โดยเลือก ห้ามปรับยอดห้องชำระเงิน ที่ systems setting/mainsetting ครับ
นอกนั้น แบ๊ะ ๆ ๆ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 28, 2006, 19:12:28 PM โดย navyNP »
เคยเป็น Admin รพ.อาภากรเกียรติวงศ์ สัตหีบ ชลบุรี(250 เตียง)
Implement by อ.MN & อ.suchai  ขึ้นระบบ 29 ก.ค.48
Server : RH Enterprise Linux AS release 3(taroon)
Client : winXP , Slave : winXP , MySQL 4.1
LIS : CST
version ปัจจุบัน 3.54.1.22

ออฟไลน์ admin

  • Administrator
  • Jr. Member
  • *****
  • กระทู้: 68
  • Respect: +17
    • ดูรายละเอียด
    • HOSxP
Re: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: สิงหาคม 30, 2006, 23:35:04 PM »
0
- ระดับการเข้าถึงข้อมูลออกแบบเอาไว้แต่ยังไม่ได้ใช้ครับ
- ระดับการสั่งจ่ายยา สามารถกำหนดได้ 0 - 99 โดยหากยาตัวใดมีระดับการสั่งจ่ายยามากกว่าระดับของผู้ใช้ ก็จะค้นหามาสั่งใช้ไม่ได้ครับ (แนะนำให้กำหนดสิทธิการสั่งยาเป็นกลุ่มผู้ใช้ หรือระบุตัวเลย จะสะดวกกว่าครับ 2.49.8.29)
- ผู้ป่วยค้างชำระตรวจสอบยอดได้ที่ทะเบียนผู้ป่วยค้างชำระครับ จะมีตัวเลือกการแสดงผลว่าจะดูเฉพาะที่ค้าง หรือจะดูทั้งหมด
- ระบบส่งข้อมูลโรคเรื้อรังที่เป็น text ไฟล์ ตอนนี้ไม่ต้องกำหนดเลขที่โรคเรื้อรังแล้วครับ สามารถกำหนดเป็นสิทธิการรักษาขึ้นมาได้เลย ซึ่งในระบบส่งข้อมูลจะมีตัวเลือกให้นำข้อมูลผู้ป่วยที่ใช้สิทธิโรคเรื้อรังมาส่งข้อมูลครับ
- IPD Drug Profile จะรองรับการสั่งจ่ายยาจาก ward ไปยังห้องจ่ายยาผู้ป่วยในครับ สามารถออกใบสั่งยาได้วันละหลายใบ และอาจจะไม่ต้องมีคีย์ยาซ้ำทุกวัน ซึ่งจะต่างจากระบบห้องจ่ายยา mode 2 ที่หากนำมาคีย์รายการยาผู้ป่วยใน จะเป็นคีย์ได้แค่วันละ 1 ใบสั่ง และต้องมาคีย์ใหม่ทุกวัน
- ห้องชำระเงินสามารถปรับยอดให้ถูกต้องได้ แต่หากไม่ต้องการให้แก้ไขจำนวนเงิน ก็กำหนดใน system setting ครับ
- รหัส UA ใช้แทน บัตรทอง 30 บาทครับ ส่วน UC กับ UB จะมีความหมายเหมือนกัน คือ บัตรทอง (ท.)
การส่งข้อมูล 12 แฟ้มเข้า NHSO ต้องมี technique นิดหน่อยครับ ช่วยอธิบาย error หรือขั้นตอนที่ทำแล้วไม่ได้ด้วยครับ
BMS Administrator

ออฟไลน์ วีระวัฒน์ (เอก)

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,368
  • ให้ก้าวไปข้างหน้าก่อนผู้อืนอย่างน้อย 1 ก้าวเสมอ
  • Respect: +7
    • ดูรายละเอียด
Re: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: สิงหาคม 31, 2006, 01:21:12 AM »
0
ปัญหาตามข้อ 1 ครับ
รพ.จอมทอง เชียงใหม่ ขนาด 120 เตียง  เริ่มใช้ HOSxP 1 ต.ค 2557 ขึ้นระบบโดย BMS
วีระวัฒน์ ใจอินผล  081-9609614 AIS  Email weerawatjaiinpol@gmail.com  Facebook วีระวัฒน์ ใจอินผล
Server: Xeon 4 core 2.27 GHz, CentOS 7.1 , RAM : 32 GB , HD SAS :300 GBx4 R5, MySQL MariaDB 10.0.20 64 bit

ออฟไลน์ manoi

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 8,669
  • Respect: +170
    • ดูรายละเอียด
    • HOSxP Community Center
Re: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: สิงหาคม 31, 2006, 06:51:05 AM »
0
ตรง export to nhso data ไม่ต้อง check ครับ
HOSxP Project Manager / Cheif Developer / BMS MD

ออฟไลน์ The Kop

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 116
  • Respect: 0
    • ดูรายละเอียด
Re: ระดับการเข้าถึงข้อมูล ระดับการสั่งยา
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: กันยายน 01, 2006, 02:08:45 AM »
0
การโอนข้อมูลเข้า NHSO ใช้วิธีการส่งออกเป็น 12 แฟ้มก่อนครับ และเหมือนที่ อ. mn บอกคือไม่ต้อง check ที่ export to nhso data ครับ โดยกำหนด path ปลายทางที่จะให้เก็บข้อมูล จากนั้นใช้ ระบบการโอนข้อมูลของโปรแกรม NHSO ดึงเอาครับเพราะจะมี tool ในการตรวจสอบการนำเช้าข้อมูลที่สมบูรณ์และตัดข้อมูลที่ซ้ำกันออกด้วยครับอรกอย่าง เราสามารถนำเอา 12 แฟ้มไปวิเคราะห์ได้ด้วยครับ
ทำวันนี้ให้มากกว่าคำว่าดี เพราะไม่มีสิ่งใหนจะเป็นที่สุดได้