แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - vinaisena

หน้า: 1 [2] 3 4 ... 13
51
ของผมจะมี folder tgrp3 เอาไว้สำรอง เครื่องไหน install ใหม่ ก็โยน folder นี้ไปทับ ได้เหมือนกันครับ

ครับ พี่วินัย..เทพจัง......เพียงแต่ผมเกรงว่า ...อาจจะขาดโน่น ขาดนี่....เลยแนะนำเอาเต็ม ๆ เลยครับ..เผื่อเรื่อง dataset อื่น ๆ ด้วย... :D :D :D
ไม่ใช่เทพได้ปะ อ.เกื้อ เขินๆๆ

52
ของผมจะมี folder tgrp3 เอาไว้สำรอง เครื่องไหน install ใหม่ ก็โยน folder นี้ไปทับ ได้เหมือนกันครับ

53
ลองดู \program files\HOSxP\tgrp3\tgrp3.exe เป็น version อะไร เหมือนกับเครื่องที่มีค่า rw ไหมครับ ถ้าไม่มี ก็ copy มาทับก็ OK ครับ

54
จำเลย เอ้ย อาจารย์ มาตอบเอง

55
พอดีต้องการรายงาน แต่มันไม่มี ข้อมูลออกในส่วนที่เป็นสิทธิการรักษา น่ะครับ รบกวนด้วยครับ
แนะนำนะครับ มีตัวอย่างรายงานก็ Up ขึ้นเป็นตัวอย่างดีกว่าไหมครับ อาจารย์ในบอร์ดอาจช่วยได้ อย่างนี้ ไม่มีใครนึกออกหรอกครับ นะนะ ลองดูนะ

57
ลองทำแล้วครับ OK ได้แต่ว่า...
เกิดขึ้นจากกอะไรได้บ้างครับ อาจารย์ /หน้างานก็บอกว่า Key ตามปกติทุกประการ การโอนค่าใช้จ่ายที่ ห้องบัตรตรงหน้างาน Admit ก็ Check อยู่ครับ

58
เจอะเป็น Case ที่ 2 ค่า X-ray OPD ไม่โอนไปที่ IPD ต้องการจะย้ายไปเป็นของ IPD ทำอย่างไรครับ
ค่า X-ray 2 รายการ รายการละ 170 บาท

59
สงสัยต้องขุดดินแล้วครับ อาจารย์

60
น่าให้ความร่วมมือจัง ขนาดขอข้อมูลยังขอผิดๆๆๆ ข้อ 3. ค่าใช้จ่าย หน่วยต้อง เป็น บาท ดันเขียนเป็นราย /ส่งสัย งานนี้ ต้อง sitdown the candle/หรือ ไม่ก็ Dum water

61
รพ.ใดบ้างครับได้รับหนังสือ ขอความร่วมมือส่งข้อมูล ดังนี้ครับ

62
หน้าบันทึกรายการนัดผู้ป่วย ตรงแถบ เพิ่มรายการนัด ตรงติดต่อที่...ถ้าจะเพิ่มหน่วยงานให้มากกว่า 3 หน่วยงาน คือ ห้องบัตร ,โต๊ะคัดกรอง ,ห้องตรวจตา ,ห้อง lab ,ห้อง er หรือเพิ่มตามแผนกที่มีในรพ. เพราะว่าถ้าผู้ป่วยมาตรวจรักษาจะได้นำในนัดไปยื่นที่ห้องนั้นๆ ได้เลย ครับ แทนที่จะมายื่นที่ห้องบัตรที่เดียว...
แต่ไม่ว่ายังไงก็ต้องมาเปิด visit ที่ห้องบัตรอยู่ดี หรือว่าให้แผนกที่รับบัตรนัดเปิด visit ให้ครับถ้าเป็นอย่างหลังก็ควรระมัดระวังเรื่องสิทธิการรักษาที่ส่งตรวจด้วยนะครับ

ผมหมายถึงว่าผู้ป่วยยื่นบัตรรพ.+บัตรคิวที่ห้องบัตร แล้วถือใบนัดตรวจไปที่ห้องต่างๆ เพื่อรอทำขั้นตอนต่อไป เช่น เจาะ lab ก่อนแล้ว ค่อนรอห้องบัตรลงทะเบียน เพื่อลงผล lab (ส่วนมากแล้วห้องบัตรจะลงทะเบียนก่อนทุกครั้ง)

เพื่ออะไรครับ มาตรงนัด กิจกรรมที่ lab จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมา register ห้องบัตรก่อน อยู่ดี หากไม่อยากให้ ผป.มาที่ห้องบัตรหากมีการนัดหมายแล้ว ก็ควรบริหารจัดการในห้องบัตรให้ทำการ Print รายชื่อผู้ป่วยนัดในแต่ละ คลินิก register ในเวรดึก หรือ ก่อนที่ผป.จะมาถึง แต่ควรคำนึงถึงการตรวจสอบสิทธิด้วยทุกครั้ง ยกเว้นเสียแต่ว่า คุณจะให้หน่วยงานอื่นที่มิใช่ห้องบัตรทำแทน

63
ยอดอะไรต่างกันครับ
504 เป็นรายโรคของ HN 1 HN ต้อง = หรือ มากกว่า
1 HN มีมากว่า 1 โรค ระบบก็จะ Tally ลงในระบบ ของโรค 504 ในแต่ละระบบกลุ่มโรคในทั้งหมด 21 ระบบกลุ่มโรค เช่น HN 0002 มารับบริการ  มี Diagnosis = A09,M791,E119,J069 จะถูก Tally ใน 0110 รง.5 =1 ราย ถูก Tally ใน 504 =4 ระบบกลุ่มโรคด้วยกัน
เปรียบเทียบ 0110 รง.5 =5706
รง.504=5719
ปกติครับ ท่าน 1 คน มีมากว่า 1 โรค สรุป

64
แจ้งปัญหา / ขอความช่วยเหลือ / Re: auto diag
« เมื่อ: พฤศจิกายน 22, 2011, 15:32:20 PM »
ไม่ควรอย่างยิ่งยวด  แต่ใช้ icd_codemap เพื่อจัดกลุ่มโรคง่าย ๆ ๆไว้ประจำตัวของแพทย์หรือพยาบาลแต่ละคนง่ายกว่าครับ..และไม่ทำให้ IM คลาดเคลื่อน..เพราะถ้าทำ auto ทุกอย่างจะมากเกินจริง... :D :D
แม่เจ้า พยาบาลช่างคิด

65
เพิ่มรายการ ICD10 เพิ่มตรงไหนครับ ต้องเพิ่มในฐานข้อมูลตาราง ICD101อย่างเดียวหรือ เพิ่มจากโปรแกรม HosXP ได้ตรงไหนครับ หากระทู้แล้วไม่เห็นครับ
ถ้าเพิ่มบาง records ลองทำแบบนี้ก็ได้ครับ

66
ตัวใหม่ รอพรุ่งนี้ครับ...อยู่ที่ รพ. พอดีตอนนี้ผม outdoor ครับ..ไม่ได้อยู่ที่เครื่อง...ที่ใช้อยู่จริง คือ 3.2 ครับ

ตาม อ.เกื้อ

อ.เกื้อ อยู่ไหมครับ

67
ตัวใหม่ รอพรุ่งนี้ครับ...อยู่ที่ รพ. พอดีตอนนี้ผม outdoor ครับ..ไม่ได้อยู่ที่เครื่อง...ที่ใช้อยู่จริง คือ 3.2 ครับ

ตาม อ.เกื้อ

68
ลองดูครับ..

http://www.4shared.com/get/oYtIgSH8/DRGsIndex3_Setup.html
เก่า กว่าที่คิดครับ อ.เกื้อ ของที่ผมใช้น่าจะเป็นล่าสุดแล้วครับ

69
ผมใช้วิธีการ...ส่งออก 12 แฟ้ม ตรวจสอบด้วย โปรแกรม DRGIndex 3.2 ผ่าน Thai Grouper 4.0.45 ก็ได้ครับ..มาตรฐานกลางของสาธารณสุขประเทศไทยครับ..ใช้ได้ดี.. :D
อ.เกื้อ ขอ version 3.2 ให้ด้วยครับ ผมมีเก่ามากเลยครับ

70
นอกเรื่อง / Re: สถานการณ์น้ำ ของผมและน้า PeeNan
« เมื่อ: พฤศจิกายน 04, 2011, 09:32:16 AM »
สมุทรปราการรอดไหมน้อง

71
ทำการ map รหัสส่งออก provis ให้ถูกต้อง

ตรวจสอบ master จากตาราง provis_pname ครับ...

โดยกำหนดรหัสส่งออกในตาราง pname ให้ตรงกับ provis_pname ก็พอครับ..

Confirm  :D :D
หมายถึงว่า ถ้า pname ใน field  provis_code ของผม blank อยู่จะต้องแก้ไขให้ตรงกับใน table field  provis_pname_code หรือ ครับ

72
ผมลองใช้ปกตินะครับ  ต้อง set user+passwd  mysql ใช้ ฐาน op-pp ตัวเก่าครับ


http://hosxp.net/index.php?option=com_smf&Itemid=28&topic=23310.msg200147#new


ลืมตัวเก่า ว่าทำยังไงนะซิ ปัญหาละ

73
ขอ share คู่มือของอาจารย์หน่อยได้ไหมครับ

74
tool Mysql  ที่ท่านอาจารย์บอกมามีหมดแล้วนะครับ config ก่อน version นี้ทำได้ แต่พอ Up version จะเข้าไป set ใน Tool Mysql ขึ้น error ตามที่ post ไว้ จะลองใช้ root ทั้ง user และ pass ครับ
----------------------
ยังเหมือนเดิมครับ
ผมต้องเริ่มต้นทำอย่างไรครับ step by step ครับ
ขอบคุณครับ

75
กำลังจะถามเลยว่าทำอย่างไร อ.เกื้อสบายดีไหม น้ำไปหาหรือยัง
แก้ไขตรงไหนนะครับ อ.เกื้อ ผมลองตามภาพที่ CAPTURE มา

76
ต้องแก้ไขอย่างไรครับ

78
ปัญหาการแย่งคิวตรวจคลินิคโรคเรื้อรัง
แก้ปัญหาโดยการให้หยิบบัตรคิวก็หยิบแทนกันคนเดียวหยิบหลายใบ
แก้ปํญหาโดยการให้ลงชื่อก็ยังลงแทนกันอยู่ดีครับ

ไม่ทราบที่อื่นใช้วิธีไหนในการรับผู้ป่วยคลินิคโรคเรื้อรังครับ

อยากให้มีระบบ  Finger scan ในการจองคิวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

แก้ปัญหา หยิบคิวแทน : ก็อย่าให้หยิบ ใช้ เจ้าหน้าที่แจก
แก้ปํญหาโดยการให้ลงชื่อ:ก็ให้เจ้าหน้าที่กำกับอยู่ด้วย
ถ้า 2 อย่างทำไม่ได้ ก็ทำแบบ อ.เกื้อบอก
แต่ที่นี่ทำแบบนี้
1. มีเวรเปลมาแจกบัตรคิวตอน 05.00 น.
2. ต่อจากนั้น มีเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยเหลือคนไข้มารับงานต่อจากเวรเปล ได้ OT 06.00-08.30 น.
3. มีเจ้าหน้าที่ห้องบัตร เวรเช้าได้ OT 06.00-08.30 น. มาลงทะเบียนใน HOSxP Print sticker ส่งตรวจ 2 ชุด
4. ชุดที่ 1 ติดกับ ID card ส่งให้ จุดซักประวัติ DM/HT ชุดที่ 2 ส่งให้ LAB ซึ่งจะมาหน้าคลินิก เจาะเลือด Pt. ตามคิวที่เราลงไป
5. หลังจากนั้นจะมีอาหารบริการฟรี สำหรับคนไข้ไว้บริการ กองทุนเบาหวาน รับบริจาคทุกวัน
6. จบ
เพิ่มเติม ทุกวันเราจะนัดคนไข้ DM/HT กระจายไปทุกๆวัน และเปิดจุดบริการรับบัตรคิวเพิ่มเป็น 2 จุดบริการ
เพราะ หมอ Med เราเยอะ เจ้าหน้าอื่นเท่าเดิม แต่ต้องพยายามทำให้ได้เพื่อประชาชน ฟังได้ อย่าทำตามถ้าไม่มีแพทย์ Med เท่ากับ 4-5 คน

79
จัดให้อิ่มทุกมื้อเลย อ.เกื้อมานะครับ ปูเสื่อด้วย

80
ปัญหาการแย่งคิวตรวจคลินิคโรคเรื้อรัง
แก้ปัญหาโดยการให้หยิบบัตรคิวก็หยิบแทนกันคนเดียวหยิบหลายใบ
แก้ปํญหาโดยการให้ลงชื่อก็ยังลงแทนกันอยู่ดีครับ

ไม่ทราบที่อื่นใช้วิธีไหนในการรับผู้ป่วยคลินิคโรคเรื้อรังครับ

อยากให้มีระบบ  Finger scan ในการจองคิวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

แก้ปัญหา หยิบคิวแทน : ก็อย่าให้หยิบ ใช้ เจ้าหน้าที่แจก
แก้ปํญหาโดยการให้ลงชื่อ:ก็ให้เจ้าหน้าที่กำกับอยู่ด้วย
ถ้า 2 อย่างทำไม่ได้ ก็ทำแบบ อ.เกื้อบอก
แต่ที่นี่ทำแบบนี้
1. มีเวรเปลมาแจกบัตรคิวตอน 05.00 น.
2. ต่อจากนั้น มีเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยเหลือคนไข้มารับงานต่อจากเวรเปล ได้ OT 06.00-08.30 น.
3. มีเจ้าหน้าที่ห้องบัตร เวรเช้าได้ OT 06.00-08.30 น. มาลงทะเบียนใน HOSxP Print sticker ส่งตรวจ 2 ชุด
4. ชุดที่ 1 ติดกับ ID card ส่งให้ จุดซักประวัติ DM/HT ชุดที่ 2 ส่งให้ LAB ซึ่งจะมาหน้าคลินิก เจาะเลือด Pt. ตามคิวที่เราลงไป
5. หลังจากนั้นจะมีอาหารบริการฟรี สำหรับคนไข้ไว้บริการ กองทุนเบาหวาน รับบริจาคทุกวัน
6. จบ



81
ขอบคุณ BMS ครับที่แนะนำ
1. ใช้ Tool โอนฐาน JHCIS
2. ทำ server ให้ OK
3. Install HOSxP
4. Connect เข้าใช้งานที่ ฐาน HOSxP_PCU
5. จบ

ขอบคุณ BMS มากๆๆๆ ครับ

82
ศูนย์แพทย์พระนครศรีอยุธยา ที่ได้รับการอบรมจาก BMS อยากใช้ HOSxP มิใช่ HOSxP_PCU มีฐาน JHCIS แต่อยากโอนฐานเข้าใช้ HOSxP ทำอย่างไร และจะใช้ HOSxP เหมือนโรงพยาบาล ฝากท่านอาจารย์แนะนำด้วยครับ

83
ขอบคุณครับ ผมแจ้งให้ รพสต.เขาดำเนินการตามที่แจ้งอยู่ครับ

84
รพสต.ที่ พระนครศรีอยุธยา มา train โดย BMS ได้ version 53.1.28 มีปัญหา Print ใบสั่งยาไม่ออก จะแก้อย่างไร

85
ลงทุน
Hardware
Software
Peopleware
----------------
ถามผู้ใช้เหล่านี้ก่อนว่า  (แพทย์ พยาบาล หรือ บุคคลการทางสาธารณสุขใน รพ.)
เขาต้องการจะดู OPD card จากระบบ scan ไหม หรือ ยังต้องค้น OPD card กันอยู่ต่อไป หรือ Scan เพื่อเก็บไว้เพื่อป้องกัน server พัง แล้วถ้า scan ไว้เก็บใน Harddisk แล้วมี server สำรอง OPD card ที่ scan แล้วหรือยัง หากเตรียมพร้อมเพื่อนการใช้ OPD card scan สำหรับงานบริการ เตรียมความพร้อมเรื่องระบบ Network และ work station สำหรับให้ผู้ใช้ข้างต้นได้ค้นหาอย่างไร ฯลฯ บาง รพ.ก็เน่าเพราะผู้ใช้ไม่ต้องการใช้ บาง  รพ.ก็เสียเจ้าหน้าทีไป 1-2 คน scan อย่างเดียว แล้วไม่ได้ใช้ นโยบายเปลี่ยน เริ่มต้นใหม่ ฯลฯ

86
ก่อนตรวจสอบ คนไข้มีสิทธิชำระเงินครบ ให้คนไข้ชำระเงิน
ต่อมาตรวจสอบ มีสิทธิ สิทธิบุคคลผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ
จะคืนเงินคนไข้ โดยการไปยกเลิกใบเสร็จ ดำเนินการที่การเงิน ขึ้นข้อความ Invalid paid status
จะแก้ไขอย่างไร

87
นอกเรื่อง / Re: รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 12, 2011, 18:32:09 PM »
กินข้าวเสร็จก็ล้างชามตรงนี้ (บ้านพ่อข้าเจ้าเอง)

88
นอกเรื่อง / Re: รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 11, 2011, 07:39:20 AM »
ขอบพระคุณทุกกำลังใจ ครับผม

89
นอกเรื่อง / Re: รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 09, 2011, 14:18:47 PM »
ท่วมแบบนี้ ทุกปีทำธุรกิจนี้มีใครสนใจบ้าง เครื่องบรรจุทราย รับบรรจุทรายด้วยความเร็วสูง อัตรา นาทีละ 40 กระสอบ และรับกรอกทราย ในอัตรา กระสอบละ 5 บาทไม่รวมทราย หากขนย้ายถึงที่คิดตามระยะทาง หากต้องการให้จัดวางทำแนว คิดตามระยะทางเป็นเมตร เมตรละ 25 บาท (นึกแล้วเหนื่อยแทน ทหารที่มาช่วยและเจ้าหน้าที่ รพ. 3วันแล้วที่กรอกทรายเตรียมทำแนวกั้น)

90
นอกเรื่อง / Re: รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 09, 2011, 14:14:47 PM »
เงินร้อน จะเป็นเงินเย็นทันที เพราะเงินแช่น้ำ และไม่มีมดขึ้นเพราะหล่อน้ำไว้แล้ว

91
นอกเรื่อง / Re: รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 09, 2011, 14:12:29 PM »
ไม่มี U turn ใต้สะพาน หากจะ U ต้องลงน้ำไป U เอง

92
นอกเรื่อง / Re: รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 09, 2011, 14:10:43 PM »
สะพานลอยสร้าง และรื้อถอนปีละครั้ง และ สร้างทุกปี ปีละหลายสะพานลอย

93
นอกเรื่อง / รายงานตัวตอนน้ำจะท่วม 54
« เมื่อ: กันยายน 09, 2011, 14:09:01 PM »
ในตลาด อ.เสนา หน้า ไปรษณีย์

94
A09
ในข้อ 2 3 และข้อ 10

95
1. A09 ปรากฎในหลายที่ของรายงาน ตกลงผู้ขอข้อมูลก่อนว่าเอาไงดี

96
ก็เข้าไปแก้ไข tname ให้ถูกต้องครับน้อง

97
ของผม ผมก็ไม่บล๊อค เพราะมันไม่ได้กระทบต่อการทำงานอะไรนิ...

อีกอย่าง...ปิดกั้นไปก็ไร้ประโยชน์ครับ...โดน Anti เปล่า ๆ ฮา....

ผมว่าคนทำงานจริง ๆ ถึงเปิด fb ก็ทำงานได้ครับ อย่างเช่นผม ฮา....  ;D ;D
คล้ายๆๆ กัน ไม่ block ครับ เป็นอีก 1 ช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารกัน แสดงความคิดเห็นกัน หาก block แล้ว user ต้องการพื้นที่แสดงความคิดเห็นบ้าง ภาระงาน IT จะต้องเสาะแสวงหาให้ user เขาได้มีพื้นที่แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนด้วยครับ ยกเว้นเสียแต่ว่า นโยบายของ โรงพยาบาล ผู้อำนวยการมีนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษร อ้างถึง เหตุ ปัจจัย ภาวะที่จำเป็นจริงๆๆ แล้วถึง IT รับลูกนำมาปฏิบัติตาม ระวังนะครับ อย่าทำก่อนที่มีคำสั่ง หรือ ปิดกั้น Block หากผู้รู้หยั่งถึง ได้ว่า IT block โดยพละการ ไม่มีคำสั่งจาก ผอ. หรือ สั่งด้วยวาจาก็เสียวๆๆอยู่นะ IT  นักร้องประสานเสียง ลั่น รพ.แน่ๆๆๆ

98
คำถามจาก รองแพทย์ ว่า ในเดือนที่ต้องการ เวลา 09.00-16.00 น.
แพทย์ท่านใดตรวจ OPD case จำนวนเท่าใด ? อาจารย์ท่านใดมี คำสั่ง SQL พอแบ่งปันได้บ้างครับ

99
ครับ อ.เกื้อ การบันทึกรหัสโรคผ่านบุคคลที่มีหน้าที่ เข้าสู่กระบวนการของ ระบบ MIS ของ รพ.เป็นเรื่องที่ จะต้องเฝ้าจับตาดูอย่าง
Model I
1. ห้องบัตรค้น OPD card
2. แพทย์เขียน OPDcard
3. Coder ถอดรหัสโรค / และ Key ลงระบบ computer
4. ประมวลผลข้อมูลเปรียบเทียบความ error

Model II
1. ห้องบัตรส่งผู้ป่วยผ่านระบบ computer
2. แพทย์ Diag / ลงรหัสโรคผ่าน Computer
3. Coder ตรวจสอบ / แก้ไข
4. เปรียบเทียบความ error

จำนวนข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบใน OPD หาก รพช. 150-250 ราย : วัน
จำนวนข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบใน OPD หาก รพท. >750  ราย : วัน
ต้องพิจารณาหลายอย่างในเรื่อง
1. ระบบงานบริการ
2. กำลังคนตามสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในการเป็น Coder
3. กลไกการตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้น่าเชื่อถือได้


100
Medical Coding Professional


คุณภาพของการให้บริการทางการแพทย์ขึ้นอยู่กับการได้มาของข้อมูลทางการแพทย์ที่มีความถูกต้องและทันเวลา ผู้ให้รหัสทางการแพทย์มืออาชีพ (Medical coding professionals) จึงเป็นผู้ที่เติมเต็มและมีความสำคัญในการทำงานเกี่ยวกับดูแลผู้ป่วย

ผู้ให้รหัสทางการแพทย์มืออาชีพ (หรือผู้ให้รหัส)  เป็นผู้ที่มีหน้าที่แปลคำวินิจฉัยโรคและหัตถการเป็นรหัสโรค (ICD-10) และรหัสหัตถการ/การผ่าตัด (ICD-9)  ทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลในเวชระเบียนที่เกี่ยวข้องกับคำวินิจฉัยโรคและหัตถการที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย รวมทั้งการให้รหัสจะต้องแน่ใจว่าได้มาจากคำที่ถูกต้องและให้รหัสได้ถูกต้อง

ผู้ให้รหัสมืออาชีพ ต้องมีความเข้าใจเนื้อหาในเวชระเบียนและสามารถหาข้อมูลสนับสนุนเพื่อให้รหัสได้อย่างถูกต้องและมีความเฉพาะเจาะจง (specific) ผู้ให้รหัสทางการแพทย์ระดับประกาศนียบัตร เป็นผู้ที่ได้รับการศึกษาวิชาสรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตร์, กระบวนการของการเกิดโรค, สาเหตุการเกิดโรค, พยาธิสภาพ, อาการ, อาการแสดง, การวินิจฉัยโรคและหัตถการ, แนวทางการรักษา และการพยากรโรคและขั้นตอนการทำหัตถการ เพื่อนำความรู้เหล่านั้นมาให้รหัส เป็นการใช้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการการเกิดโรคและเทคนิคการทำหัตถการที่ถูกต้องมาประยุกต์ใช้ในการให้รหัสได้อย่างถูกต้อง ผู้ให้รหัสทางการแพทย์จึงเป็นส่วนหนึ่งของทีมที่นำไปสู่ความสำเร็จในการให้การดูแลรักษาผู้ป่วยให้มีคุณภาพมากที่สุด
ที่มา http://www.ahima.org/coding/profession.aspx


สำหรับในประเทศไทยผู้ให้รหัสควรจะต้องมีความรู้เพิ่มเติมดังนี้
1. ระบบ DRGs ซึ่งใช้เป็นเกณฑ์ในการจ่ายค่าชดเชยในหลายกองทุน เช่น สปสช., สกส.(กรมบัญชีกลาง), ปกส. เป็นต้น
2. หลักการให้รหัสมาตรฐานตาม Standard coding guideline ของ สนย.ฯ ได้กำหนดมาตรฐานให้ผู้ให้รหัสให้รหัสตามการบันทึกของแพทย์ ถ้ามีความเห็นแตกต่างจากแพทย์ให้ส่งเวชระเบียนให้แพทย์พิจารณาเห็นชอบและบันทึกลายมือชื่อก่อนจะนำกลับมาให้รหัส
3. การให้รหัสตามเอกสารแนะนำของ สปสช. ซึ่งได้กำหนดหลักเกณฑ์การให้รหัสว่าจะต้องมีหลักฐานบันทึกไว้ในเวชระเบียนและถูกต้องตามข้อกำหนดที่กำหนดไว้ในเอกสารแนะนำเป็นหลัก ถ้าไม่มีการสรุปโรคหรือหัตถการโดยแพทย์ผู้ให้รหัสสามารถให้รหัสได้แต่ต้องมีหลักฐานสนับสนุนและถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด (ตามเกณฑ์การประเมิน SA & CA)

หน้า: 1 [2] 3 4 ... 13